เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
วลญฺชิต : กิต. สะกดรอยแล้ว, ค้นหารอย
วลญฺเชติ : ก. สะกดรอย, ค้นหารอย
สโยค : ป. การประกอบ, การสะกดตัวหนังสือ
อนุปท : ก. วิ. โดยลำดับบท, ตามรอยเท้า, สะกดรอย
สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
สุกตี : (วิ.) มีบุญ, มีโชค. วิ. สุกตํ อสฺส อตฺถีติ สุกตี, อี ปัจ. อภิฯ ลง ณิ ปัจ. เป็น สุกติ.
อุทฺทิสฺสกต : ค. อันอุทิศ, อันเจาะจง, มุ่งหมายเฉพาะ
พฺยญฺชสโยค : (ปุ.) การซ้อนกันของพยัญชนะ, พยัญชนสังโยค คือพยัญชนะที่ใช้ซ้อนกันได้ตามกฎเกณฑ์ หรือพยัญชนะที่เป็นตัวสกดตามอักขรวิธี.