Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สัมมาวาจา, สัมมา, วาจา , then วะจะ, วาจ, วาจา, สมมา, สมฺมา, สัมม, สัมมา, สัมมาวาจา .

Eng-Thai Lexitron Dict : สัมมาวาจา, 12 found, display 1-12
  1. insult : (N) ; วาจาหยาบคาย ; Related:คำหยาบ, การกระทำที่หยาบคาย ; Syn:rudeness ; Ant:compliment, praise
  2. acrid : (ADJ) ; ดุเดือด (คำพูด, กิริยาวาจา) ; Related:รุนแรง, เผ็ดร้อน ; Syn:sarcastic, caustic
  3. acrimonious : (ADJ) ; เผ็ดร้อน (คำพูด, กิริยาวาจา) ; Syn:sharp, bitter, caustic
  4. veraciously : (ADV) ; อย่างมีวาจาสัตย์
  5. veraciousness : (N) ; การมีวาจาสัตย์
  6. vitriolic : (ADJ) ; ซึ่งใช้วาจาเจ็บแสบทำลายความรู้สึกคนอื่น ; Related:แสบไส้, เผ็ดร้อน ; Syn:caustic
  7. viva voce : (ADJ) ; โดยวาจา
  8. viva voce : (ADV) ; โดยวาจา
  9. tart 1 : (ADJ) ; (ปาก) จัด ; Related:(วาจา) เผ็ดร้อน
  10. parol : (ADJ) ; โดยคำพูด ; Related:โดยวาจา
  11. veracious : (ADJ) ; ซึ่งพูดความจริง ; Related:ซึ่งมีวาจาสัตย์, ซื่อสัตย์ ; Syn:honest, truthful ; Ant:dishonest, mendacious
  12. eeing-to : (SL) ; มีเซ็กส์ ; Related:ร่วมเพศ, มีเพศสัมมพันธ์

Thai-Eng Lexitron Dict : สัมมาวาจา, more than 7 found, display 1-7
  1. สัมมาวาจา : (N) ; right speech ; Def:การเจรจาชอบ คือ ประพฤติวจีสุจริต ; Samp:มนุษย์ใดมีสัมมาวาจากับตัวก็จะสร้างความเจริญก้าวหน้าให้ชีวิต
  2. มิจฉาวาจา : (N) ; wrong saying or language ; Related:wrong utterance or speech ; Ant:สัมมาวาจา ; Def:การเจรจาถ้อยคำผิด, ประพฤติวจีทุจริต ; Samp:เขาอาศัยมิจฉาวาจาในการหาเสียง
  3. มิจฉาวาจา : (N) ; wrong saying or language ; Related:wrong utterance or speech ; Ant:สัมมาวาจา ; Def:การเจรจาถ้อยคำผิด, ประพฤติวจีทุจริต ; Samp:เขาอาศัยมิจฉาวาจาในการหาเสียง
  4. วาจา : (N) ; speech ; Related:words, discourse, remark, vocable, utterance ; Syn:ถ้อยคำ, คำกล่าว, คำพูด, คำ, วจี ; Samp:เขาสำรวมกายวาจาใจของเขาได้เป็นอย่างดี
  5. สัมมาคารวะ : (N) ; respect ; Related:esteem, regard, deference ; Def:การมีความเคารพนอบน้อมต่อผู้อื่น ; Samp:เขาเป็นคนมีสัมมาคารวะและเชื่อฟังผู้ใหญ่
  6. สัมมาทิฐิ : (N) ; right views ; Def:ความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม ; Samp:คำสอนในทางธรรมเป็นการช่วยให้คนเกิดสัมมาทิฐิ
  7. สัมมาสติ : (N) ; right mindfulness ; Related:right recollection ; Def:ความระลึกชอบ ; Samp:เมื่อมีสัมมาสติก็จะเกิดสมาธิสร้างปัญญาให้เกิดแจ้ง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สัมมาวาจา, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สัมมาวาจา, more than 5 found, display 1-5
  1. สัมมาวาจา : น. ''การเจรจาชอบ'' คือ ประพฤติวจีสุจริต. (ป.).
  2. วาจา : น. ถ้อยคํา, คํากล่าว, คําพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์. (ป., ส.).
  3. สัมมา : ว. ชอบ, ดี, (มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส) เช่น สัมมาทิฐิ สัมมาชีพ. (ป.; ส. สมฺยกฺ).
  4. ทางสายกลาง : น. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางที่จะนำไปสู่ความ ดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง; การปฏิบัติที่ไม่ตึงนักไม่หย่อนนัก, การปฏิบัติที่ไม่ตึงไปทางใด ทางหนึ่ง.
  5. มรรค, มรรค-, มรรคา : [มัก, มักคะ-, มันคา] น. ทาง; เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ - ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ - ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา - การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ - การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ - การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ - ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ - ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ -ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. (ส. มารฺค; ป. มคฺค).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สัมมาวาจา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สัมมาวาจา, more than 5 found, display 1-5
  1. สัมมาวาจา : เจรจาชอบ คือเว้นจาก วจีทุจริต ๔ (ข้อ ๓ ในมรรค)
  2. วาจา : คำพูด, ถ้อยคำ
  3. สัมมา : โดยชอบ, ดี, ถูกต้อง, ถูกถ้วน, สมบูรณ์, จริง, แท้
  4. วาจาชอบ : ดู สัมมาวาจา
  5. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีงาม มี ๒๕ แบ่งเป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง) ๑๙ คือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (ความคลายสงบแห่งกองเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่งจิต) กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่งจิต) กายมุทุตา (ความนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่งจิต) กายกัมมัญญตา (ความควรแก่งานแห่งกองเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่งจิต) กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก) จิตตปาคุญญตา (แห่งจิต) กายชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่งจิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวงดเว้น) ๓ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ค.อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกคืออัปปมัญญา) ๒ คือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) ง.ปัญญินทรียเจตสิก ๑ คือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : สัมมาวาจา, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : สัมมาวาจา, more than 5 found, display 1-5
  1. วาจา : อิต. การกล่าว, คำพูด
  2. สมฺมา : (อิต.) สลักเอกไถ วิ. สเมนฺติ ยาย สา สมฺมา. สมุ อุปสเม, อ. อิตฺถิยํ อา.
  3. วาจานุรกฺขี : ค. ผู้รักษาตามคำพูด
  4. ฉปฺปญจวาจา : (อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ ฉ วา ปญฺจ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  5. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สัมมาวาจา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สัมมาวาจา, 7 found, display 1-7
  1. วาจาไพเราะ : มธุรวาจา, วิสฏ
  2. วาจาสุภาพ : สนฺตวจ
  3. สัมมาคารวะ : สคารโว
  4. คำ : กถา, วาจา, วจี, วจนํ
  5. มีวาจาไพเราะ : มธุรวาจา, วคฺคุคฺท
  6. การสวดกรรม : กมฺมวาจา [อิ.]
  7. ไพเราะ : มธุรวาจา, วคฺคุคฺท

(0.2242 sec)