Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สัมมาอาชีวะ, อาชีวะ, สัมมา , then สมมา, สมฺมา, สมมาอาชว, สัมม, สัมมา, สัมมาอาชีวะ, อาชว, อาชีว, อาชีวะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : สัมมาอาชีวะ, 2 found, display 1-2
  1. vocational : (ADJ) ; เกี่ยวกับวิชาชีพ ; Related:เกี่ยวกับอาชีวะ ; Syn:professional
  2. eeing-to : (SL) ; มีเซ็กส์ ; Related:ร่วมเพศ, มีเพศสัมมพันธ์

Thai-Eng Lexitron Dict : สัมมาอาชีวะ, more than 7 found, display 1-7
  1. สัมมาอาชีวะ : (N) ; right livelihood ; Syn:สัมมาชีพ ; Def:การเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบที่ถูกต้อง ; Samp:ผู้เกียจคร้านที่จะประกอบสัมมาอาชีวะก็คอยจ้องแต่จะลักขโมยเขาเบียดเบียนเขา
  2. สัมมาชีพ : (N) ; honest livelihood ; Syn:สัมมาอาชีวะ ; Def:การเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบที่ถูกต้อง ; Samp:ความสุขที่แท้จริงคือ การมีปัญญาและการงานที่เป็นสัมมาชีพอย่างแท้จริง
  3. อาชีวะ : (N) ; occupation ; Related:trade, vocation, profession, career, calling ; Syn:อาชีว, อาชีพ, การงาน, การยังชีพ, การทำมาหากิน ; Def:งานที่ทำเป็นประจำเพื่อเลี้ยงชีพ ; Samp:เขามีความพร้อมแล้วทางสถานะทางสังคม ในอันที่จะประกอบอาชีวะ เพราะจบการศึกษาแล้ว
  4. สัมมาคารวะ : (N) ; respect ; Related:esteem, regard, deference ; Def:การมีความเคารพนอบน้อมต่อผู้อื่น ; Samp:เขาเป็นคนมีสัมมาคารวะและเชื่อฟังผู้ใหญ่
  5. สัมมาทิฐิ : (N) ; right views ; Def:ความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม ; Samp:คำสอนในทางธรรมเป็นการช่วยให้คนเกิดสัมมาทิฐิ
  6. สัมมาวาจา : (N) ; right speech ; Def:การเจรจาชอบ คือ ประพฤติวจีสุจริต ; Samp:มนุษย์ใดมีสัมมาวาจากับตัวก็จะสร้างความเจริญก้าวหน้าให้ชีวิต
  7. สัมมาสติ : (N) ; right mindfulness ; Related:right recollection ; Def:ความระลึกชอบ ; Samp:เมื่อมีสัมมาสติก็จะเกิดสมาธิสร้างปัญญาให้เกิดแจ้ง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สัมมาอาชีวะ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สัมมาอาชีวะ, more than 5 found, display 1-5
  1. สัมมาอาชีวะ : น. การเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ. (ป.).
  2. สัมมา : ว. ชอบ, ดี, (มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส) เช่น สัมมาทิฐิ สัมมาชีพ. (ป.; ส. สมฺยกฺ).
  3. ทางสายกลาง : น. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางที่จะนำไปสู่ความ ดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง; การปฏิบัติที่ไม่ตึงนักไม่หย่อนนัก, การปฏิบัติที่ไม่ตึงไปทางใด ทางหนึ่ง.
  4. มรรค, มรรค-, มรรคา : [มัก, มักคะ-, มันคา] น. ทาง; เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ - ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ - ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา - การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ - การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ - การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ - ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ - ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ -ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. (ส. มารฺค; ป. มคฺค).
  5. อัษฎางคิกมรรค : [อัดสะดางคิกะมัก] น. ทางปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ ตามหลักพระพุทธศาสนา ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดําริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ เรียกว่า อริยมรรค มีองค์ ๘ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สัมมาอาชีวะ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สัมมาอาชีวะ, more than 5 found, display 1-5
  1. สัมมาอาชีวะ : เลี้ยงชีวิตชอบ คือเว้นจากเลี้ยงชีวิตโดยทางที่ผิด เช่น โกงเขาหลอกลวง สอพลอ บีบบังคับขู่เข็ญ ค้าคน ค้ายาเสพติด ค้ายาพิษ เป็นต้น (ข้อ ๕ ในมรรค)
  2. สัมมา : โดยชอบ, ดี, ถูกต้อง, ถูกถ้วน, สมบูรณ์, จริง, แท้
  3. อาชีวะ : อาชีพ, การเลี้ยงชีพ, ความเพียรพยายามในการแสวงหาปัจจัยยังชีพ, การทำมาหากิน
  4. ปริเยสนา : การแสวงหา มี ๒ คือ ๑.อนริยปริเยสนา แสวงหาอย่างไม่ประเสริฐ ตนยังมีทุกข์ ก็ยังแสวงหาสภาพที่ไม่มีทุกข์ ได้แก่ นิพพาน; สำหรับคนทั่วไป ท่านอธิบายว่า มิจฉาอาชีวะ เป็น อนริยปริเยสนา สัมมาอาชีวะ เป็น อริยปริเยสนา
  5. สีลขันธ์ : กองศีล, หมวดธรรมว่าด้วยศีล เช่น กายสุจริต สัมมาอาชีวะ อินทรียสังวร โภชเนมัตตัญญุตา เป็นต้น (ข้อ ๑ ในธรรมขันธ์ ๕)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : สัมมาอาชีวะ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : สัมมาอาชีวะ, more than 5 found, display 1-5
  1. อาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่, การเลี้ยงชีพ, การเลี้ยงชีวิต, อาชีพ(การทำมาหากิน), ธรรมเป็นที่มาเป็นอยู่. วิ.อาชีวนํอาชีโว.อาชีวติเอเตนาติอาชีโว.อาปุพฺโพ, ชีวฺปาณธาร-เณ, อ.ส.อาชีว.
  2. สมฺมา : (อิต.) สลักเอกไถ วิ. สเมนฺติ ยาย สา สมฺมา. สมุ อุปสเม, อ. อิตฺถิยํ อา.
  3. อาชีวฏฺฐมกสีล : (นปุ.) ศีลมีอาชีวะเป็นที่แปด, ศีลมีการเลี้ยงชีพบริสุทธิ์เป็นที่แปดคือกายสุจริต๓วจีสุจริต๔และสัมมาอาชีวะ๑.
  4. อาชว : ป. ตัณหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
  5. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สัมมาอาชีวะ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สัมมาอาชีวะ, 1 found, display 1-1
  1. สัมมาคารวะ : สคารโว

(0.2100 sec)