Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิทธิส่วนบุคคล, สิทธิ, บุคคล, ส่วน .

Eng-Thai Lexitron Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more than 7 found, display 1-7
  1. right : (N) ; สิทธิ ; Related:สิทธิตามกฎหมาย, สิทธิมนุษยธรรม ; Syn:entitlement, privilege
  2. individual : (N) ; บุคคล ; Related:ปัจเจกชน ; Syn:person, self
  3. Eng-Thai Lexitron Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more than 7 found, display 1-7
  1. สิทธิส่วนบุคคล : (N) ; private right ; Samp:การที่บิดามารดาไม่ก้าวก่ายสิทธิส่วนบุคคลของเด็ก ย่อมเป็นการสอนให้เด็กได้เรียนรู้ที่จะเคารพในสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น
  2. สิทธิส่วนบุคคล : (N) ; personality ; Related:personal identity, individuality
  3. สิทธิส่วนตัว : (N) ; individual right ; Syn:สิทธิส่วนบุคคล ; Ant:สิทธิส่วนรวม ; Samp:กรณีที่ข้าราชการประจำขอลาออกจากตำแหน่ง ย่อมเป็นสิทธิส่วนตัวของข้าราชการแต่ละคน ; Unit:อย่าง
  4. สิทธิ : (N) ; right ; Syn:สิทธิ ; Def:อำนาจที่จะกระทำการใดๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรองจากกฎหมาย ; Samp:เยาวชนและบุคคลซึ่งพิการ หรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับการศึกษาอบรมขั้นพื้นฐานจากรัฐ
  5. ส่วน : (N) ; part ; Related:portion, component ; Syn:แผนก, ตอน, ท่อน ; Def:ส่วนที่แบ่งจากสิ่งรวม ; Samp:การคิดไตร่ตรองมนุษย์ประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนที่มีเหตุผล (rational) และส่วนที่ไร้เหตุผล (irrational)
  6. ส่วน : (N) ; part ; Related:section, portion ; Syn:แผนก, ตอน, ท่อน ; Def:ส่วนที่แบ่งจากสิ่งรวม
  7. บุคคล : (N) ; person ; Related:individual, people ; Syn:คน ; Def:คนซึ่งสามารถมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย ; Samp:การปิดกั้นทางหลวงที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ยานพาหนะหรือบุคคลมีโทษจำคุก 10 ปี ; Unit:คน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more than 5 found, display 1-5
  1. ส่วน : น. สิ่งที่แบ่งจากสิ่งรวม เช่น เงินส่วนนี้จะเอาไว้ทําบุญ; การเข้าร่วม เช่น เรื่องนี้ขอมีส่วนด้วย; แผนกย่อย, ฝ่าย, เช่น งานกองนี้แบ่งออก เป็นหลายส่วน, ตอน, ท่อน, เช่น เรื่องนี้แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน; ขนาดที่ พอเหมาะพอดี เช่น ได้ส่วน สมส่วน ผิดส่วน; ด้าน เช่น ส่วนกว้าง ส่วนยาว ส่วนหนา; จำนวนที่อยู่ข้างล่างของเศษในเลขเศษส่วน. สัน. ฝ่าย, ข้าง, เช่น พอสอบเสร็จเพื่อน ๆ ก็ไปเที่ยวภูเก็ต ส่วนฉัน ไปเชียงใหม่.
  2. บุคคลสิทธิ : [บุกคะละสิด, บุกคนละสิด] (กฎ) น. สิทธิเหนือบุคคล เช่น สิทธิของเจ้าหนี้เหนือลูกหนี้.
  3. บุคคล, บุคคล- : [บุกคน, บุกคะละ-, บุกคนละ-] น. คน (เฉพาะตัว); (กฎ) คนซึ่ง สามารถมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย เรียกว่า บุคคลธรรมดา; กลุ่มบุคคลหรือองค์กรซึ่งกฎหมายบัญญัติให้เป็นบุคคลอีก ประเภทหนึ่ง ที่ไม่ใช่บุคคลธรรมดา และให้มีสิทธิและหน้าที่ ตามกฎหมาย เรียกว่า นิติบุคคล. (ป. ปุคฺคล; ส. ปุทฺคล).
  4. สอบประวัติส่วนบุคคล : ก. ขอให้เจ้าพนักงานตำรวจท้องที่ที่บุคคลซึ่ง จะบรรจุเข้ารับราชการเป็นต้นอาศัยอยู่ สอบประวัติย่อ ภูมิลำเนาครั้ง สุดท้าย และลายพิมพ์นิ้วมือเป็นต้นของบุคคลนั้น.
  5. รถส่วนบุคคล : น. รถยนต์นั่งที่เอกชนเป็นเจ้าของ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more than 5 found, display 1-5
  1. บุคคล ๔ จำพวก : คือ ๑.อุคฆฏิตัญญู ผู้รู้เข้าใจได้ฉบพลัน แต่พอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง ๒.วิปจิตัญญู ผู้รู้เข้าใจต่อเมื่อท่านขยายความ ๓.เนยยะ ผู้ที่พอจะแนะนำต่อไปได้ ๔.ปทปรมะ ผู้ได้แค่ตัวบทคือถ้อยคำเป็นอย่างยิ่ง ไม่อาจเข้าใจความหมาย
  2. วาสนา : อาการกายวาจา ที่เป็นลักษณะพิเศษของบุคคล ซึ่งเกิดจากกิเลสบางอย่าง และได้สั่งสมอบรมมาเป็นเวลานานจนเคยชินติดเป็นพื้นประจำตัว แม้จะละกิเลสนั้นได้แล้ว แต่ก็อาจจะละอาการกายวาจาที่เคยชินไม่ได้ เช่น คำพูดติดปาก อาการเดินที่เร็ว หรือเดินต้วมเตี้ยม เป็นต้น ท่านขยายความว่า วาสนา ที่เป็นกุศล ก็มี เป็นอกุศล ก็มี เป็นอัพยากฤต คือ เป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ก็มี ที่เป็นกุศลกับอัพยากฤตนั้น ไม่ต้องละ แต่ที่เป็นอกุศลซึ่งควรจะละนั้น แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่จะเป็นเหตุให้เกิดอาการแสดงออกทางกายวาจาแปลกๆ ต่างๆ ส่วนแรก พระอรหันต์ทุกองค์ละได้ พระอรหันต์อื่นละไม่ได้ จึงมีคำกล่าวว่า พระพุทธเจ้าเท่านั้นละกิเลสทั้งหมดได้ พร้อมทั้งวาสนา; ในภาษาไทย คำว่า วาสนา มีความหมายเพี้ยนไป กลายเป็นอำนาจบุญเก่า หรือกุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ
  3. อนัตตลักษณะ : ลักษณะที่เป็นอนัตตา, ลักษณะที่ให้เห็นว่าเป็นของมิใช่ตัวตน ได้แก่ ๑) เป็นของสูญ คือ เป็นเพียงการประชุมเข้าขององค์ประกอบที่เป็นส่วนย่อยๆ ทั้งหลาย ว่างเปล่าจากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา หรือการสมมติเป็นต่างๆ ๒) เป็นสภาพหาเจ้าของมิได้ ไม่เป็นของใครจริง ๓) ไม่อยู่ในอำนาจ ไม่เป็นไปตามความปรารถนา ไม่ขึ้นต่อการบังคับบัญชาของใครๆ ๔) เป็นสภาวธรรมอันเป็นไปตามเหตุปัจจัย ขึ้นต่อเหตุปัจจัย ไม่มีอยู่โดยลำพังตัว แต่เป็นไปโดยสัมพันธ์ อิงอาศัยกันอยู่กับสิ่งอื่นๆ ๕) โดยสภาวะของมันเอง ก็แย้งหรือค้านต่อความเป็นอัตตา มีแต่ภาวะที่ตรงข้ามกับความเป็นอัตตา
  4. บุคคลาธิษฐาน : มีบุคคลเป็นที่ตั้ง, เทศนายกบุคคลขึ้นอ้าง คู่กับธรรมาธิษฐาน
  5. ส่วนท่ามกลาง : ในประโยคว่า “ไม่ติดอยู่ในส่วนท่ามกลาง” ปัจจุบัน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more than 5 found, display 1-5
  1. สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
  2. นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
  3. ปเทสวสฺสี : ค. (ฝน) ซึ่งตกในที่บางส่วน, (บุคคล) ผู้เป็นดุจฝนตกเฉพาะที่บางส่วน คือให้ทานแก่คนไม่ทั่วหน้า
  4. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  5. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สิทธิส่วนบุคคล, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สิทธิส่วนบุคคล, 5 found, display 1-5
  1. ส่วน : ปฏิวึโส, ภาโค, โกฏฺฐาโส
  2. กล, ส่วน : กลา [อิ.]
  3. สิทธิเสรีภาพ : อิสฺสริยํ
  4. ปลาย, ส่วนสุด : อคฺคํ, อนฺตํ, โกฏิ, มตฺถก, ปริโยสาน, ปริยนฺต
  5. สละสุขส่วนตัว : อตฺตโน สุขํ จชิ

(0.2862 sec)