Dictionary
: English, Thai, Pali.
Link :
Lexitron
,
RoyDict
,
BudDict
,
ETipitaka
,
PpmDict
,
Longdo
.
Enter word :
(use % for wildcard)
Search:
สุคต
, then
สคต
,
สุคต
.
Eng-Thai Lexitron Dict
:
สุคต
, not found
Thai-Eng Lexitron Dict
:
สุคต
, 1 found, display 1-1
ราชย์
:
(N)
;
the throne
;
Related:
royal property, royal treasures
;
Syn:
รัช
;
Def:
ความเป็นพระราชา
;
Samp:
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเสวยราชย์แล้วได้สถาปนากรมหมื่นนุชิตชิโนรสศรี
สุคต
ขัตติยวงศ์ขึ้นเป็นกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรสศรี
สุคต
ขัติยวงศ์
Royal Institute Thai-Thai Dict
:
สุคต
, 2 found, display 1-2
-คต
:
[-คะตะ, -คด] ก. ถึงแล้ว, ไปแล้ว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ตถาคต
สุคต
สวรรคต ทิวงคต. (ป.).
เนมิตกนาม
:
น. ชื่อที่เกิดขึ้นตามเหตุ คือลักษณะและคุณสมบัติ เช่น พระ
สุคต
แปลว่า ผู้ดําเนินดีแล้ว.
Budhism Thai-Thai Dict
:
สุคต
, 6 found, display 1-6
สุคต
:
ผู้เสด็จไปดีแล้ว, เป็นพระนามพระพุทธเจ้า ดู
สุคโต
ด้วย
สุคต
ประมาณ
:
ขนาดหรือประมาณของพระ
สุคต
คือ พระพุทธเจ้า, เกณฑ์หรือมาตราวัดของพระ
สุคต
สุคต
าณัตติพจน์
:
พระดำรัสสั่งของพระ
สุคต
คืบพระ
สุคต
:
ชื่อมาตราวัด ตามอรรถกถานัยว่า เท่ากับ ๓ คืบของคนปานกลาง คือ เท่ากับศอกคืบช่างไม้ แต่มตินี้ไม่สมจริง ปัจจุบันยุติกันว่าให้ถือตามไม้เมตร คือ เท่ากับ ๒๕ เซนติเมตร ประมาณกันกับคืบช่างไม้ ซึ่งเป็นการสะดวก และถ้าหากจะสั้นกว่าขนาดจริง ก็ไม่เสีย เพราะจะไม่เกินกำหนด ไม่เสียทางวินัย
เตียง
:
ภิกษุทำเตียงหรือตั่ง พึงทำให้มีเท้าเพียง ๘ นิ้วพระ
สุคต
เว้นไว้แต่แม่แคร่เบื้องต่ำ และต้องไม่หุ้มนุ่น ถ้าฝ่าฝืน ต้องปาจิตตีย์ ต้องตัดให้ได้ประมาณ หรือรื้อเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก (ปาจิตตีย์ รตนวรรคที่๙ สิกขาบทที่ ๕ และ ๖)
ธรรมกาย
:
“ผู้มีธรรมเป็นกาย” เป็นพระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า (ตามความในอัคคัญญสูตร แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค) หมายความว่า พระองค์ทรงคิดพุทธพจน์คำสอนด้วยพระหทัยแล้วทรงนำออกเผยแพร่ด้วยพระวาจา เป็นเหตุให้พระองค์ก็คือพระธรรม เพราะทรงเป็นแหล่งที่ประมวลหรือที่ประชุมอยู่แห่งธรรมอันปรากฏเปิดเผยออกมาแก่ชาวโลก; อนึ่งธรรมกายคือกองธรรมหรือชุมนุมแห่งธรรมนั้น ย่อมเจริญงอกงามเติบขยายขึ้นได้โดยลำดับจนไพบูลย์ ในบุคคลผู้เมื่อได้สดับคำสอนของพระองค์ แล้วฝึกอบรมตนด้วยไตรสิกขาเจริญมรรคให้บรรลุภูมิแห่งอริยชน ดังตัวอย่างดำรัสของพระมหาปชาบดีโคตมี เมื่อครั้งกราบทูลลาพระพุทธเจ้าเพื่อปรินิพพานตามความในคัมภีร์อปทานตอนหนึ่งว่า “ข้าแต่พระ
สุคต
เจ้า หม่อมฉันเป็นมารดาของพระองค์, ข้าแต่พระธีรเจ้า พระองค์ก็เป็นพระบิดาของหม่อมฉัน..รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันได้ทำให้เจริญเติบโต ส่วนธรรมกายอันเป็นที่เอิบสุขของหม่อมฉัน ก็เป็นสิ่งอันพระองค์ได้ทำให้เจริญเติบโต”; สรุปตามนัยอรรถกถาธรรมกายก็คือโลกุตตรธรรม ๙ หรือ อริยสัจ
ETipitaka Pali-Thai Dict
:
สุคต
, 5 found, display 1-5
สุคต
:
(ปุ.) พระผู้ดำเนินไปดี พระผู้ดำเนินไปงาน วิ. สุนฺทโร คโต สุคโต. พระผู้ตรัสดี วิ. สุฏฐ คทตีติ สุคโต. สุฏฐปุพฺโพ, คทฺวิยตฺติยํ วาจายํ, อ, ทสฺส โต. พระผู้ทรงบรรลุฐานะอันงาน วิ. สุนฺทรํ ฐานํ คจฺฉตีติ สุคโต. พระผู้ทรงบรรลุพระนิพพานอันงาม วิ. สุนฺทรํ นิพฺพานํ คจฺฉตีติ สุคโต. คมฺคติยํ, โต, มโลโป. พระผู้เสด็จมาดี วิ. สมฺมา อาคโต สุคโต. ลบมฺมาและอา แปลง อ ที่ ส เป็น อุ. พระ
สุคต
พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงทรงนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. ส.
สุคต
.
สุคต
าลย
:
(ปุ.) วิหารแห่งพระ
สุคต
.
โสคต
:
(วิ.) มีพระ
สุคต
เป็นเทวดา วิ. สุคโต อสฺส เทวตาติ โสคโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
ปริสคต
:
ค. ไปแล้วในหมู่, เข้าหาพวก
สุคต
ิ
:
(อิต.) ภูมิอันสัตว์พึงไปดี, ภูมิเป็นที่ไปดี, การไปดี, ภูมิดี, ภูมิเป็นที่ไปด้วยความดี, ที่เป็นที่ไปที่ดี, ที่เป็นที่อยู่ที่ดี, กำเนิดดี, ทางดี, สวรรค์, วิ. สุนฺทรา คติ
สุคต
ิ. เป็นสุคฺคติ โดยซ้อน คฺ บ้าง.
Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict
:
สุคต
, 1 found, display 1-1
พระพุทธเจ้า
:
โคตโม, สกฺยมุนิ, สกฺยสีโห, พุทฺโธ, ธมฺมราชา, มหามุนิ, ภควา, สตฺถา, สพฺพญฺญู, มุนินฺโท, นาโถ, ทสพโล, โลกนาโถ, สุคโต, องฺคีรโสโลกครุ, นรวโร, เทวาติเทโว, ตถาคโต, ธมฺมสฺสามิ, สมฺมาสมฺพุทฺโธ