Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หนก , then หนก, หนกา .

Eng-Thai Lexitron Dict : หนก, 1 found, display 1-1
  1. enter into : (PHRV) ; เห็นใจ ; Related:เห็นแก่

Thai-Eng Lexitron Dict : หนก, 4 found, display 1-4
  1. เห็นแก่ : (V) ; think of ; Related:considerate of, for the sake of ; Syn:เห็นกับ ; Def:ให้ความสำคัญหรือคำนึงถึง ; Samp:อาจารย์เห็นแก่ความลำบากของเขาเลยไม่เอาผิดในกรณีนี้
  2. หนวกหู : (ADJ) ; noisy ; Related:clamorous, vociferous, boisterous, loud ; Syn:หนกหู, หนกขู, หนวกหู ; Def:เซ็งแซ่อื้ออึงรำคาญหู ; Samp:บ้านของเขาอยู่ข้างทางหลวง จึงต้องทนหนวกหูกับเสียงรถยนต์ ที่แล่นขวักไขว่อยู่ตลอดเวลา
  3. เอื้อ : (V) ; be charitable to ; Related:be kind to, help, support (with kindness) ; Syn:เอาใจใส่, มีน้ำใจ, เห็นแก่ ; Samp:ศรีนภาแสดงน้ำใจที่จะเอื้อต่อผมในเรื่องที่พักและอาหารการกิน
  4. เอื้อ : (V) ; be charitable to ; Related:be kind to, help, support (with kindness) ; Syn:เอาใจใส่, มีน้ำใจ, เห็นแก่ ; Samp:ศรีนภาแสดงน้ำใจที่จะเอื้อต่อผมในเรื่องที่พักและอาหารการกิน

Royal Institute Thai-Thai Dict : หนก, 8 found, display 1-8
  1. เห็นแก่ : ก. มุ่งเฉพาะเพื่อ เช่น เห็นแก่ตัว เห็นแก่พวก เห็นแก่ได้.
  2. กรรเจียก : [กัน-] น. เครื่องประดับหูมีรูปเป็นกระหนก เช่น กรรเจียก ซ้อนจอนแก้วแพรวพราว. (อิเหนา). [ข. ตฺรเจียก ว่า หู].
  3. กะ- ๕ : พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคําซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อ สละสลวยหรือเน้นคําให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น โดยแยกเอาตัวสะกดในแม่กกแห่งคํา หน้ามานํา เช่น นกยาง เป็น นก-กะยาง, ผักโฉม เป็น ผัก-กะโฉม, ลูกดุม เป็น ลูก-กะดุม. ต่อไปนี้เป็นคําที่ขึ้นด้วยพยางค์ กะ- ซึ่งเคยใช้เป็นกระ- ได้, ให้ดูคําแปลที่ กระ- นั้น ๆ คือ :- กะเกริก, กะเกริ่น. กะง่อนกะแง่น, กะเง้ากะงอด. กะจก, กะจ้อน, กะจ้อยร่อย, กะจะ, กะจัง, กะจับ, กะจับปิ้ง, กะจับปี่, กะจ่า, กะจาด, กะจาบ, กะจิบ, กะจิริด, กะจี้, กะจุก, กะจุ๋งกะจิ๋ง, กะจุบ, กะจุ๋มกะจิ๋ม, กะจุย, กะจู้, กะจู๋กะจี๋, กะเจอะกะเจิง, กะเจา, กะเจ้า, กะเจาะ, กะเจิง, กะเจิดกะเจิง, กะเจี้ยง, กะเจี๊ยบ, กะเจียว, กะแจะ, กะโจน, กะโจม. กะฉอก, กะฉ่อน, กะฉับกะเฉง, กะฉีก, กะฉูด, กะเฉด, กะโฉม. กะชดกะช้อย, กะชอน, กะชั้น, กะชับ, กะชาก, กะชาย, กะชุ, กะชุ่มกะชวย, กะแชง. กะซิก, กะซิบ, กะซุง, กะซุบกะซิบ, กะเซ็น, กะเซอ, กะเซอะกะเซอ, กะเซอะกะเซิง, กะเซ้า, กะเซิง, กะแซะ. กะดก, กะด้ง, กะดวง, กะดวน, กะด้วมกะเดี้ยม, กะดอ, กะดอง, กะดอน, กะดอม, กะดักกะเดี้ย, กะดังงา, กะดาก, กะด้าง, กะดางลาง, กะดาน, กะดิก, กะดิ่ง, กะดิบ, กะดี่, กะดี้, กะดี้กะเดียม, กะดึง, กะดุกกะดิก, กะดุ้งกะดิ้ง, กะดุบกะดิบ, กะดุม, กะดูก, กะเด็น, กะเด้า, กะเดาะ, กะเดิด, กะเดียด, กะเดือก, กะเดื่อง, กะแด็ก ๆ, กะแด้แร่, กะแด่ว, กะแดะ, กะโดก, กะโดด, กะโดน, กะได. กะตรกกะตรํา, กะต้อ, กะตรับ, กะตรุม, กะต้วมกะเตี้ยม, กะต่องกะแต่ง, กะต๊อบ, กะต้อยตีวิด, กะตัก, กะตั้ว, กะต่าย, กะติก, กะตือรือร้น, กะตุก, กะตุกกะติก, กะตุ้งกะติ้ง, กะตุ้น, กะเตง, กะเต็น, กะเตอะ, กะเตาะ, กะเตาะกะแตะ, กะเตื้อง, กะแต, กะโตกกะตาก. กะถด, กะถั่ว, กะถาง, กะถิก, กะถิน, กะเถิบ, กะโถน. กะทง, กะทบ, กะทอก, กะท่อนกะแท่น, กะท่อม, กะท้อมกะแท้ม, กะทะ, กะทั่ง, กะทั่งติด, กะทา, กะทาย, กะทาหอง, กะทํา, กะทิง, กะทึง, กะทืบ, กะทุง, กะทุ้ง, กะทุ่ม, กะทุ่มหมู, กะทู้, กะเท่, กะเทียม, กะแทก. กะนั้น, กะนี้, กะโน้น, กะไน. กะบก, กะบวย, กะบะ, กะบั้วกะเบี้ย, กะบาก, กะบาย, กะบิ, กะบิด, กะบี่, กะบุง, กะบุ่มกะบ่าม, กะบู้กะบี้, กะบูน, กะเบน, กะเบา, กะเบียด, กะเบียน, กะเบื้อง, กะแบกงา, กะแบะ. กะปรี้กะเปร่า, กะป้อกะแป้, กะป๋อง, กะปอดกะแปด, กะปั้วกะเปี้ย, กะป่ำ, กะปุก, กะปุ่มกะป่ำ, กะเป๋า, กะเปาะ, กะโปก. กะผลีกะผลาม, กะผีก. กะพอก, กะพอง, กะพัก, กะพัง, กะพังเหิร, กะพังโหม, กะพัน, กะพี้, กะพือ, กะพุ้ง, กะเพาะ, กะเพิง, กะเพื่อม. กะฟัดกะเฟียด, กะฟูมกะฟาย. กะมัง, กะมิดกะเมี้ยน, กะเมาะ. กะย่องกะแย่ง, กะย่อม, กะยาง, กะยาหงัน, กะยิ้มกะย่อง, กะยืดกะยาด. กะรอก, กะเรียน, กะไร. กะลําพัก, กะลําพุก, กะลุมพุก, กะลุมพู. กะวาน, กะวิน, กะวีกะวาด, กะวูดกะวาด, กะเวยกะวาย, กะแวน. กะสง, กะสม, กะสร้อย, กะสวน, กะสวย, กะสอบ, กะสัง, กะสัน, กะสับกะส่าย, กะสา, กะสาบ, กะสาย, กะสือ, กะสุน, กะสูบ, กะเสด, กะเส็นกะสาย, กะเส่า, กะเสาะกะแสะ, กะเสือกกะสน, กะแสง, กะแสะ. กะหนก, กะหนาบ, กะหมั่ง, กะหัง, กะหึม, กะหืดกะหอบ, กะแห, กะแหน่, กะแหนะ, กะโห้. กะอ้อกะแอ้, กะออดกะแอด, กะออม, กะอ้อมกะแอ้ม, กะแอก, กะแอม, กะไอ.
  4. รัดเกล้า : น. เครื่องประดับศีรษะสตรีสูงศักดิ์ในราชสํานักแต่โบราณ และประดับศีรษะนางละครแต่งยืนเครื่องซึ่งเลียนแบบสตรีสูงศักดิ์ มี ๒ แบบ คือ รัดเกล้ายอด มีปลายยอดทรงกรวยแหลม สําหรับกษัตรี และรัดเกล้าเปลว มียอดปักช่อกระหนกเปลวสําหรับพระสนม.
  5. หนึก : [หฺนึก] ว. หนึบ.
  6. หนก : [โหฺนก] ว. นูนยื่นออกมา เช่น หน้าผากโหนก.
  7. อินทรธนู : [อินทะนู] น. รุ้ง (แถบสีโค้งบนท้องฟ้า); เครื่องประดับ บ่าอย่างหนึ่งเพื่อแสดงยศเป็นต้น; ชื่อลายขอบที่เป็นกระหนก.
  8. เอื้อ : ก. เอาใจใส่, มีนํ้าใจ, เช่น เอื้อแก่กัน, เห็นแก่ เช่น ทำกับข้าวเผ็ด ไม่เอื้อเด็ก ๆ.

Budhism Thai-Thai Dict : หนก, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : หนก, 5 found, display 1-5
  1. ปฏิคฺคณฺหนก : ค. ผู้รับ, ผู้รับเอา, ซึ่งรองรับไว้
  2. โมหนก : ค.นอกลู่นอกทาง, งงงวย
  3. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  4. หณุ หนุ หนุกา : (อิต.) คาง. วิ. หนฺติ โอทนาทีสุ วณฺณวิเสสํ นาเสตีติ หณฺ หนุ วา. โภชนํ หนติ เอเตนาติ หณุ หนุ วา. หนฺ หึสายํ, อุ. อภิฯ. รูปฯ ๖๖๕ ลง ณุ, นุ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้นคง ณุ ไว้ ศัพท์ที่ ๓ ลง ก สกัด อา อิต. ส. หนุ.
  5. หนุ, หนุกา : อิต. คาง

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หนก, 1 found, display 1-1
  1. คาง : หนุ, หนุกํ [ถี.]

(0.1176 sec)