Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หยิบโหย่ง, โหย่ง, หยิบ , then หยง, หยบ, หยบหยง, หยิบ, หยิบโหย่ง, โหย่ง .

Eng-Thai Lexitron Dict : หยิบโหย่ง, more than 7 found, display 1-7
  1. take up : (PHRV) ; หยิบ (หนังสือ) ขึ้นมา ; Related:ยก (หนังสือ) ขึ้นมา ; Syn:lift up, raise
  2. handpick : (VT) ; หยิบด้วยมือ ; Related:เก็บเกี่ยวด้วยมือ
  3. maul : (VT) ; หยิบจับอย่างหยาบกระด้าง ; Related:ใช้อย่างไม่ระวัง, ใช้อย่างไม่ทะนุถนอม
  4. rob Peter to pay Paul : (IDM) ; หยิบยืมจากอีกคนไปให้อีกคน ; Related:ยืมจากคนนี้ไปใช้คนโน้น (อย่างไรก็ยังเป็นหนี้อยู่ดี)
  5. palm 1 : (VT) ; ค่อยๆ หยิบขึ้น ; Syn:carry, handle, lift, take ; Ant:put
  6. supermarket : (N) ; ร้านขายของขนาดใหญ่ที่ผู้ซื้อเลือกหยิบของเอง ; Related:ซูเปอร์มาร์เก็ต
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : หยิบโหย่ง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : หยิบโหย่ง, more than 7 found, display 1-7
  1. หยิบโหย่ง : (ADJ) ; finicky ; Related:loaf around ; Syn:กรีดกราย, หยิบหย่ง ; Ant:ทะมัดทะแมง, เอาการเอางาน, คล่องแคล่ว, กระฉับกระเฉง ; Def:ไม่ทะมัดทะแมง, ไม่เอาการเอางาน ; Samp:หล่อนทำงานหยิบหย่ง
  2. โหย่ง : (V) ; stand on tiptoe ; Related:hop on one foot ; Syn:หย่ง, เขย่ง, กระหย่ง กระโหย่ง ; Def:อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทำให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง ; Samp:เขาโหย่งตัวขึ้นเพื่อจะมองได้ชัดยิ่งขึ้น
  3. หยิบ : (N) ; a handful of ; Syn:หยิบมือ ; Def:ประมาณของเท่ามือหยิบขึ้นครั้งหนึ่ง ; Samp:คนมาในงานนี้เพียงหยิบมือเดียว
  4. หยิบ : (V) ; pick ; Related:select, take, bring ; Syn:จับ, ถือ, ฉวย ; Def:เอานิ้วมือจับขึ้น ; Samp:ห้ามใช้มือเปล่าหยิบสารเคมีฆ่าแมลงหรือเมล็ดฝ้ายที่คลุกสารเคมีฆ่าแมลงเป็นอันขาด
  5. หยิบ : (V) ; bring up ; Related:raise ; Syn:หยิบยก, นำมา, เสนอ ; Samp:นักเคลื่อนไหวต่อต้านหยิบเอาประเด็นเส้นทางเดินช้างป่ามาเป็นข้อต่อสู้ในการต่อต้านโครงการวางท่อก๊าซธรรมชาติ
  6. หยิบหย่ง : (ADJ) ; idle ; Related:frivolous ; Syn:หยิบโหย่ง, กรีดกราย ; Def:ไม่เอาการเอางาน ; Samp:หากไม่สอนให้ให้เด็กรู้จักค่าของเงิน เด็กอาจจะติดเป็นนิสัยกลายเป็นคนหยิบหย่ง สุรุ่ยสุร่าย จมไม่ลง
  7. หยิบฉวย : (V) ; snatch ; Related:snap ; Syn:ฉกฉวย ; Def:หยิบไปโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของ ; Samp:โจรในเครื่องแบบอาศัยช่องว่างก่อนทำรายการบัญชีของกลาง หยิบฉวยเอาไปโดยไม่มีใครกล้าปริปาก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : หยิบโหย่ง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : หยิบโหย่ง, more than 5 found, display 1-5
  1. หยิบหย่ง, หยิบโหย่ง : ว. กรีดกราย, ทำอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน, ไม่ทะมัดทะแมง, เช่น ท่าทางหยิบโหย่งอย่างนี้ จะไปทำมาหากินอะไรได้.
  2. หยิบ : ก. เอานิ้วมือจับขึ้น. น. ประมาณของเท่า ๒ นิ้วมือหรือ ๓ นิ้วมือหยิบ ขึ้นครั้งหนึ่ง, หยิบมือ ก็เรียก.
  3. โหย่ง ๒, โหย่ง : [โหฺย่ง] ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทําให้ตน สูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินโหย่ง ๆ วิ่งโหย่ง ๆ, เรียกรอยเท้า ที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้าโหย่ง หรือ รอยเท้าโหย่ง ๆ, อาการที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งโหย่ง หรือ นั่งโหย่ง ๆ, กระหย่ง กระโหย่ง หย่ง หรือ หย่ง ๆ ก็ว่า.
  4. โหย่ง : [โหฺย่ง] ก. ทำให้สูงขึ้น เช่น โหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยาย ตัวให้หลวมขึ้น เช่น โหย่งฟาง โหย่งผม โหย่งเส้นบะหมี่, หย่ง ก็ว่า.
  5. หยิบมือ : น. ประมาณของเท่า ๒ นิ้วมือหรือ ๓ นิ้วมือหยิบขึ้นครั้งหนึ่ง, หยิบ ก็เรียก.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : หยิบโหย่ง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : หยิบโหย่ง, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : หยิบโหย่ง, 6 found, display 1-6
  1. ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
  2. อุปนิกฺเขป : ป. การวางไว้ใกล้, การตั้งไว้ใกล้, การให้คำมั่นสัญญา, การวางประกัน, การหยิบเอาไปวางเปรียบเทียบ
  3. คพฺพิต : (วิ.) หยิ่ง, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  4. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  5. ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
  6. อุณฺณมติ : ก. ฟูขึ้น, พองขึ้น, ยกตน, หยิ่ง

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หยิบโหย่ง, not found

(0.1863 sec)