Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หย่ง , then หยง, หย่ง .

Eng-Thai Lexitron Dict : หย่ง, 9 found, display 1-9
  1. be puffed up : (PHRV) ; หยิ่ง (คำไม่เป็นทางการ) ; Related:อวดตัว, ภูมิใจในตัวเองเกินไป
  2. highfalutin : (ADJ) ; หยิ่ง ; Related:ยโส, โอหัง ; Syn:grandiose, pompous, pretentious ; Ant:humble
  3. highfaluting : (ADJ) ; หยิ่ง ; Related:ยโส, โอหัง ; Syn:grandiose, pompous, pretentious ; Ant:humble
  4. loftily : (ADV) ; หยิ่ง ; Related:ยโส ; Syn:arrogant, haughty
  5. snippy : (ADJ) ; หยิ่ง (คำไม่เป็นทางการ) ; Related:วางมาด ; Syn:insolent
  6. proud : (ADJ) ; ทะนงตัว ; Related:หยิ่ง, ซึ่งหยิ่งทะนง ; Syn:arrogant, haughty, conceited

Thai-Eng Lexitron Dict : หย่ง, more than 7 found, display 1-7
  1. หย่ง : (V) ; tiptoe ; Related:walk on tip toe ; Syn:หย่ง, กระหย่ง, กระโหย่ง ; Def:ทำให้สูงขึ้น ; Samp:เธอลงมายืนแตะเท้ากับผ้าขี้ริ้วเก่าๆ พอให้เท้าแห้งแล้วก็หย่งเท้าขึ้นบันได
  2. กระหย่ง : (ADV) ; (walk) on the toes ; Related:(go) on tip-toe ; Syn:หย่ง, หย่ง, กระโหย่ง ; Samp:หล่อนเดินกระหย่งเท้าไปที่เตียงนอน
  3. หย่ง : (V) ; stand on tiptoe ; Related:hop on one foot ; Syn:หย่ง, เขย่ง, กระหย่ง กระโหย่ง ; Def:อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทำให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง ; Samp:เขาโหย่งตัวขึ้นเพื่อจะมองได้ชัดยิ่งขึ้น
  4. กระโหย่ง : (V) ; walk on the toes ; Related:go on tip-toe ; Syn:กระหย่ง, หย่ง, หย่ง ; Samp:น้องกระโหย่งเท้าเดินเพราะพื้นสกปรก
  5. หยิบหย่ง : (ADJ) ; idle ; Related:frivolous ; Syn:หยิบโหย่ง, กรีดกราย ; Def:ไม่เอาการเอางาน ; Samp:หากไม่สอนให้ให้เด็กรู้จักค่าของเงิน เด็กอาจจะติดเป็นนิสัยกลายเป็นคนหยิบหย่ง สุรุ่ยสุร่าย จมไม่ลง
  6. หยิบโหย่ง : (ADJ) ; finicky ; Related:loaf around ; Syn:กรีดกราย, หยิบหย่ง ; Ant:ทะมัดทะแมง, เอาการเอางาน, คล่องแคล่ว, กระฉับกระเฉง ; Def:ไม่ทะมัดทะแมง, ไม่เอาการเอางาน ; Samp:หล่อนทำงานหยิบหย่ง
  7. กรีดนิ้ว : (V) ; gesture with the fingers ; Def:กรายนิ้ว, ใช้นิ้วหยิบอย่างมีท่าหยิบหย่ง ; Samp:เขากรีดนิ้วนับเงิน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : หย่ง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : หย่ง, more than 5 found, display 1-5
  1. หย่ง ๒, หย่ง : ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทําให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินหย่ง ๆ วิ่งหย่ง ๆ, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้าหย่ง หรือรอยเท้าหย่ง ๆ, อาการ ที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งหย่ง หรือ นั่งหย่ง ๆ, กระหย่ง กระโหย่งหย่ง หรือ โหย่ง ๆ ก็ว่า.
  2. หย่ง : ก. ทําให้สูงขึ้น เช่น หย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้ หลวมขึ้น เช่น หย่งฟาง หย่งผม หย่งเส้นบะหมี่, โหย่ง ก็ว่า.
  3. กระหย่ง : ก. ทําให้สูงขึ้น เช่น กระหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่ง หรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น กระหย่งฟาง, กระโหย่ง หย่ง หรือ โหย่ง ก็ว่า.
  4. กระหย่ง : ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทําให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินกระหย่ง วิ่งกระหย่ง, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็มเห็นแต่ ปลายเท้าและส้นเท้าว่า รอยเท้ากระหย่ง, อาการที่นั่งเอา ปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งกระหย่ง, กระโหย่ง หย่ง หย่ง ๆ โหย่ง หรือ โหย่ง ๆ ก็ว่า.
  5. หยิบหย่ง, หยิบโหย่ง : ว. กรีดกราย, ทำอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน, ไม่ทะมัดทะแมง, เช่น ท่าทางหยิบโหย่งอย่างนี้ จะไปทำมาหากินอะไรได้.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : หย่ง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : หย่ง, 3 found, display 1-3
  1. กระหย่ง : (ในคำว่า นั่งกระหย่ง) นั่งคุกเข่าเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่านั่งกระโหย่ง ก็ได้; บางแห่งว่าหมายถึงนั่งยองๆ
  2. เก็บวัตร : โวหารเรียกวินัยกรรมเกี่ยวกับวุฏฐานวิธีอย่างหนึ่ง คือ เมื่อภิกษุต้องครุกาบัติขั้นสังฆาทิเสสกำลังอยู่ปริวาส ยังไม่ครบเวลาที่ปกปิดอาบัติไว้ก็ดี กำลังประพฤติมานัตยังไม่ครบ ๖ ราตรีก็ดี เมื่อมีเหตุอันสมควร ก็ไม่ต้องประพฤติติดต่อกันเป็นรวดเดียว พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ทำผ้าห่มเฉวียงบ่า นั่งกระหย่ง ประณมมือ ถ้าเก็บปริวาสพึงกล่าวว่า ปริวาสํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บปริวาส หรือว่า วตฺตํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บวัตร ว่าคำใดคำหนึ่ง ก็เป็นอันพักปริวาส ; ถ้าเก็บมานัต พึงกล่าวว่า มานตฺตํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บมานัต หรือว่า วตฺตํ นิกฺขิปามิ ข้าพเจ้าเก็บวัตร ดังนี้ ว่าคำใดคำหนึ่งก็เป็นอันพักมานัต ต่อไปเมื่อมีโอกาสก็ให้สมาทานวัตรใหม่ได้อีก
  3. มานัต : ชื่อวุฏฐานวิธี คือระเบียบปฏิบัติในการออกจากครุกาบัติ แปลว่า นับหมายถึงการนับราตรี ๖ ราตรี คือ ภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว เมื่อจะปลดเปลื้องตนจากอาบัติ ตามธรรมเนียมแห่งอาบัติสังฆาทิเสส จะต้องไปหาสงฆ์จตุรวรรค ทำผ้าห่มเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง กราบภิกษุแก่กว่า นั่งกระหย่งประนมมือกล่าวคำขอมานัต ตามอาบัติที่ต้อง ภิกษุรูปหนึ่งสวดประกาศให้มานัตแล้ว ภิกษุรูปนั้นประพฤติมานัต ๖ ราตรี เป็นวุฏฐานวิธีเบื้องต้น แห่งการออกจากครุกาบัติ แล้วสงฆ์จึงสวดระงับอาบัตินั้น (แต่ถ้าปกปิดอาบัติไว้ ต้องอยู่ปริวาส ก่อนจึงประพฤติมานัตได้)

ETipitaka Pali-Thai Dict : หย่ง, 5 found, display 1-5
  1. อุกฺกุฏิก : (วิ.) กระหย่ง, กระโหย่ง. (ทำให้สูงขึ้นหรือทำสิ่งที่รวมกันอยู่ให้ ขยายตัวขึ้น).
  2. คพฺพิต : (วิ.) หยิ่ง, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  3. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  4. ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
  5. อุณฺณมติ : ก. ฟูขึ้น, พองขึ้น, ยกตน, หยิ่ง

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หย่ง, not found

(0.1107 sec)