Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลักธรรม, หลัก, ธรรม , then ธมฺม, ธรรม, ธรรมะ, ธรรมา, หลก, หลัก, หลักธรรม, หลักธรรมะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : หลักธรรม, more than 7 found, display 1-7
  1. keystone : (N) ; หลัก ; Related:แกน, แกนหลัก, หลักสำคัญ ; Syn:principle, main
  2. virtuous : (ADJ) ; เกี่ยวกับหลักศีลธรรม ; Related:เที่ยงธรรม, ถูกต้อง, ดีงาม
  3. nihilistic : (ADJ) ; ซึ่งเชื่อว่าไม่มีสิ่งใดมีคุณค่าโดยเฉพาะทางศาสนา/หลักศีลธรรม
  4. philosopher : (N) ; ผู้รู้หลักธรรม ; Related:ผู้ปลงตก
  5. unscrupulous : (ADJ) ; ที่ไม่มีหลักศีลธรรม ; Syn:immoral ; Ant:honest
  6. evangel : (N) ; หลักคำสอนเบื้องต้น ; Related:หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับศีลธรรมหรือการเมือง
  7. morals : (N) ; หลักความประพฤติ ; Related:หลักจรรยา, หลักปฏิบัติ, หลักศีลธรรม ; Syn:standards, dogmas
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : หลักธรรม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : หลักธรรม, more than 7 found, display 1-7
  1. หลักธรรม : (N) ; dharmic principle ; Related:moral principle ; Def:หลักคำสั่งสอนในศาสนา ; Samp:หลักธรรมในพุทธศาสนาเป็นปรัชญาเทียบขนานกันได้กับคติวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบัน
  2. หลักศีลธรรม : (N) ; morality ; Syn:หลักคำสอน, หลักธรรม, หลักธรรมจริยา ; Samp:คณะรัฐบาลควรมีหลักศีลธรรมในการทำหน้าที่
  3. ธรรม : (N) ; doctrine ; Related:Teaching of Buddha, dharma ; Syn:คำสั่งสอน, คุณความดี, หลักธรรม ; Def:หลักคำสั่งสอนในศาสนา
  4. หลัก : (N) ; main principle ; Related:basic, core, main theme ; Syn:หลักการ, แก่น ; Def:สาระสำคัญ ; Samp:หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือการช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ
  5. หลัก : (N) ; principle ; Related:tenet ; Syn:หลักการ, แก่น ; Def:สาระสำคัญ ; Samp:หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือ การช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ
  6. หลัก : (N) ; stake ; Related:post, pole ; Syn:เสา, ที่มั่น, ที่ผูก, หลักยึด ; Samp:เขาเอาเรือไปผูกไว้กับหลัก
  7. หลัก : (N) ; pole ; Syn:เสา, ที่มั่น, ที่ผูก, หลักยึด ; Samp:เขาเอาเรือไปผูกไว้กับหลัก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : หลักธรรม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : หลักธรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ธรรม ๑, ธรรม, ธรรม : [ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. (ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
  2. หลัก : น. เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น, เช่น เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก; เครื่องหมาย เช่น หลักเขต; เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดํารงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว; สาระที่มั่นคง เช่น พูดจาไม่มีหลัก หลัก กฎหมาย หลักเศรษฐศาสตร์.
  3. ธรรม : น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ตํ่ากว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์.
  4. หลัก : น. ตําแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจํานวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จํานวนหน่วย เลข ๒ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนสิบ เลข ๓ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนร้อย เลข ๔ ตัวเรียงกัน เรียกว่าจํานวนพัน เลข ๕ ตัว เรียงกัน เรียกว่า จํานวนหมื่น เลข ๖ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนแสน เลข ๗ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน เช่น ๙๘๗ เป็นจํานวนร้อย ๙ เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง ๙๐๐ ส่วน ๘ เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง ๘๐ และ ๗ เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง ๗.
  5. ธรรม : คําประกอบท้ายคําที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไป จากคําศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : หลักธรรม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : หลักธรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ธรรม : สภาพที่ทรงไว้, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวธรรม, สัจจธรรม, ความจริง; เหตุ, ต้นเหตุ; สิ่ง, ปรากฏการณ์, ธรรมารมณ์, สิ่งที่ใจคิด; คุณธรรม, ความดี, ความถูกต้อง, ความประพฤติชอบ; หลักการ, แบบแผน, ธรรมเนียม, หน้าที่; ความชอบ, ความยุติธรรม; พระธรรม, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงธรรมให้เปิดเผยปรากฏขึ้น
  2. หลักกำหนดธรรมวินัย : หลักตัดสินธรรมวินัย หรือลักษณะตัดสินธรรม วินัย ๘ อย่าง คือ ก.ธรรมเหล่าใด เป็นไป ๑.เพื่อความย้อมใจติด ๒.เพื่อความประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความพอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักมากอยากใหญ่ ๕.เพื่อความไม่สันโดษ ๖.เพื่อความคลุกคลีในหมู่ ๗.เพื่อความเกียจคร้าน ๘.เพื่อความเลี้ยงยาก, ธรรมเหล่านี้ พึงรู้ว่าไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่ใช่สัตถุศาสน์, ข.ธรรมเหล่าใดเป็นไป ๑.เพื่อความคลายหายติด ๒.เพื่อความไม่ประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความไม่พอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักน้อย ๕.เพื่อความสันโดษ ๖.เพื่อความสงัด ๗.เพื่อการประกอบความเพียร ๘.เพื่อความเลี้ยงง่าย, ธรรมเหล่านี้พึงรู้ว่า เป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์
  3. ธรรมวินัย : ธรรมและวินัย, คำสั่งสอนทั้งหมดของพระพุทธเจ้า ซึ่งประกอบด้วย ธรรม= คำสอนแสดงหลักความจริงและแนะนำความประพฤติ, วินัย = บทบัญญัติกำหนดระเบียบความเป็นอยู่และกำกับความประพฤติ ; ธรรม= เครื่องควบคุมใจ, วินัย= เครื่องควบคุมกายและวาจา
  4. ธรรม ๒ หมวดหนึ่ง : คือ ๑.รูปธรรม ได้แก่รูปขันธ์ทั้งหมด ๒.อรูปธรรม ได้แก่ นามขันธ์ ๔ และนิพพาน; อีกหมวดหนึ่ง คือ ๑.โลกียธรรม ธรรมเป็นเป็นวิสัยของโลก ๒.โลกุตตรธรรม ธรรมอันมิใช่วิสัยของโลก ได้แก่ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ ; อีกหมวดหนึ่ง คือ ๑.สังขตธรรม ธรรมที่ปัจจัยปรุงแต่งได้แก่ขันธ์ ๕ ทั้งหมด ๒.อสังขตธรรม ธรรมที่ปัจจัยไม่ปรุงแต่ง ได้แก่ นิพพาน
  5. ธรรมวาที : “ผู้มีปกติกล่าวธรรม”, ผู้พูดเป็นธรรม, ผู้พูดตามธรรม, ผู้พูดตรงตามธรรมหรือพูดถูกต้องตามหลักไม่พูดผิดธรรม ไม่พูดนอกหลักธรรม
  6. Budhism Thai-Thai Dict : หลักธรรม, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลักธรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  2. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  3. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  4. ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
  5. ทิฏฺฐิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทิฐิ, ผู้บรรลุธรรมด้วยความเห็นถูกต้อง, ผู้เข้าใจในหลักความเห็น
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : หลักธรรม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หลักธรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ธรรมมาสน์ : ธมฺมาสนํ, ธมฺมปลฺลงฺโก
  2. หลักฐาน, เหตุผล : สาปเทโส
  3. ค้นคว้าธรรม : ธมฺมวิจโย
  4. รักษาไว้ซึ่งคนทรงธรรม : ธมฺมธารึ ธาเรติ
  5. ปฏิบัติธรรม : ธมฺมานุธมฺมปสุโต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หลักธรรม, more results...

(0.3416 sec)