Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หอง .

Eng-Thai Lexitron Dict : หอง, 1 found, display 1-1
  1. estrange : (VT) ; ทำให้บาดหมาง ; Related:ทำให้ระหองระแหง, ทำให้ห่างเหิน, ออกห่าง, ทำให้หมางใจ ; Syn:alienate, disaffect

Thai-Eng Lexitron Dict : หอง, 8 found, display 1-8
  1. ความระหองระแหง : (N) ; discord ; Related:disagreement, dissension, conflict, quarrelsome ; Syn:ความร้าวฉาน, ความบาดหมาง ; Ant:ความปรองดอง, ความสามัคคี ; Def:ความไม่ลงรอยกัน ; Samp:ความระหองระแหงในบ้านเกิดจากพ่อไปมีเมียน้อย
  2. ระหองระแหง : (ADJ) ; quarrelsome ; Syn:บาดหมาง ; Def:ผิดใจกันเพราะเรื่องเล็กๆ น้อยๆ, ไม่ใคร่ถูกกัน
  3. ระหองระแหง : (V) ; quarrel ; Related:wrangle ; Syn:บาดหมาง ; Def:บาดหมางกันเพราะเรื่องเล็กๆ น้อยๆ, ไม่ปรองดองกัน
  4. ความแตกแยก : (N) ; disharmony ; Related:disunion, separation ; Syn:ความแตกร้าว, ความระหองระแหง, ความบาดหมาง ; Ant:ความสามัคคี, ความปรองดอง ; Samp:ขณะนี้เริ่มมีความแตกแยกทางความคิดขึ้นในองค์กรการศึกษา
  5. ความร้าวฉาน : (N) ; disunion ; Related:dissociation, split, rupture, discord, disagreement, dissension, disjunction ; Syn:ความระหองระแหง, ความแตกร้าว, ความบาดหมาง ; Ant:ความสามัคคี, ความปรองดอง ; Samp:ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทำให้เกิดเป็นความร้าวฉานระหว่างสถาบัน
  6. ไม่ลงรอยกัน : (V) ; conflict ; Related:quarrel, disagree, dispute, wrangle, be quarrelsome ; Syn:ขัดแย้ง, ระหองระแหง, ทะเลาะกัน, บาดหมาง ; Samp:เขาทั้งสองไม่ลงรอยกันมานานเป็นปีแล้ว
  7. ปะทะคารม : (V) ; debate ; Related:dispute, quarrel, squabble, argue ; Syn:โต้เถียง, โต้คารม, เถียง ; Samp:เขามีเรื่องระหองระแหงและเคยปะทะคารมกับหัวหน้ามาตลอด
  8. หมูแนม : (N) ; minced and pounded roasted pork ; Def:ของกินใช้เนื้อหมูประสมกับข้าวคั่วป่น ; Samp:สำรับคาวสำหรับงานมงคลเช่น แกงเผ็ดไก่หรือเนื้อ แกงหองหรือแกงบวน สำรับเครื่องเคียง มี ไส้กรอก หมูแนม ยำยวนหรุ่ม พริกสด เป็นต้น ; Unit:ห่อ, จาน

Royal Institute Thai-Thai Dict : หอง, 5 found, display 1-5
  1. หอง : น. ชื่อแกงอย่างจีนชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อหมูเป็นต้นต้มกับดอกไม้จีนหรือหน่อไม้ แห้งและถั่วลิสง.
  2. หอง : ก. ส่งให้สูงขึ้น, แต่งให้สูงขึ้น. (จ.).
  3. ระหองระแหง : ก. บาดหมางกันเพราะเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่ปรองดองกัน, เช่น ผัวเมีย ระหองระแหงกันอยู่เสมอ. ว. ผิดใจกันเพราะเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่ ใคร่ถูกกัน, เช่น เขามีเรื่องระหองระแหงกันอยู่เรื่อย.
  4. กะ- ๕ : พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคําซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อ สละสลวยหรือเน้นคําให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น โดยแยกเอาตัวสะกดในแม่กกแห่งคํา หน้ามานํา เช่น นกยาง เป็น นก-กะยาง, ผักโฉม เป็น ผัก-กะโฉม, ลูกดุม เป็น ลูก-กะดุม. ต่อไปนี้เป็นคําที่ขึ้นด้วยพยางค์ กะ- ซึ่งเคยใช้เป็นกระ- ได้, ให้ดูคําแปลที่ กระ- นั้น ๆ คือ :- กะเกริก, กะเกริ่น. กะง่อนกะแง่น, กะเง้ากะงอด. กะจก, กะจ้อน, กะจ้อยร่อย, กะจะ, กะจัง, กะจับ, กะจับปิ้ง, กะจับปี่, กะจ่า, กะจาด, กะจาบ, กะจิบ, กะจิริด, กะจี้, กะจุก, กะจุ๋งกะจิ๋ง, กะจุบ, กะจุ๋มกะจิ๋ม, กะจุย, กะจู้, กะจู๋กะจี๋, กะเจอะกะเจิง, กะเจา, กะเจ้า, กะเจาะ, กะเจิง, กะเจิดกะเจิง, กะเจี้ยง, กะเจี๊ยบ, กะเจียว, กะแจะ, กะโจน, กะโจม. กะฉอก, กะฉ่อน, กะฉับกะเฉง, กะฉีก, กะฉูด, กะเฉด, กะโฉม. กะชดกะช้อย, กะชอน, กะชั้น, กะชับ, กะชาก, กะชาย, กะชุ, กะชุ่มกะชวย, กะแชง. กะซิก, กะซิบ, กะซุง, กะซุบกะซิบ, กะเซ็น, กะเซอ, กะเซอะกะเซอ, กะเซอะกะเซิง, กะเซ้า, กะเซิง, กะแซะ. กะดก, กะด้ง, กะดวง, กะดวน, กะด้วมกะเดี้ยม, กะดอ, กะดอง, กะดอน, กะดอม, กะดักกะเดี้ย, กะดังงา, กะดาก, กะด้าง, กะดางลาง, กะดาน, กะดิก, กะดิ่ง, กะดิบ, กะดี่, กะดี้, กะดี้กะเดียม, กะดึง, กะดุกกะดิก, กะดุ้งกะดิ้ง, กะดุบกะดิบ, กะดุม, กะดูก, กะเด็น, กะเด้า, กะเดาะ, กะเดิด, กะเดียด, กะเดือก, กะเดื่อง, กะแด็ก ๆ, กะแด้แร่, กะแด่ว, กะแดะ, กะโดก, กะโดด, กะโดน, กะได. กะตรกกะตรํา, กะต้อ, กะตรับ, กะตรุม, กะต้วมกะเตี้ยม, กะต่องกะแต่ง, กะต๊อบ, กะต้อยตีวิด, กะตัก, กะตั้ว, กะต่าย, กะติก, กะตือรือร้น, กะตุก, กะตุกกะติก, กะตุ้งกะติ้ง, กะตุ้น, กะเตง, กะเต็น, กะเตอะ, กะเตาะ, กะเตาะกะแตะ, กะเตื้อง, กะแต, กะโตกกะตาก. กะถด, กะถั่ว, กะถาง, กะถิก, กะถิน, กะเถิบ, กะโถน. กะทง, กะทบ, กะทอก, กะท่อนกะแท่น, กะท่อม, กะท้อมกะแท้ม, กะทะ, กะทั่ง, กะทั่งติด, กะทา, กะทาย, กะทาหอง, กะทํา, กะทิง, กะทึง, กะทืบ, กะทุง, กะทุ้ง, กะทุ่ม, กะทุ่มหมู, กะทู้, กะเท่, กะเทียม, กะแทก. กะนั้น, กะนี้, กะโน้น, กะไน. กะบก, กะบวย, กะบะ, กะบั้วกะเบี้ย, กะบาก, กะบาย, กะบิ, กะบิด, กะบี่, กะบุง, กะบุ่มกะบ่าม, กะบู้กะบี้, กะบูน, กะเบน, กะเบา, กะเบียด, กะเบียน, กะเบื้อง, กะแบกงา, กะแบะ. กะปรี้กะเปร่า, กะป้อกะแป้, กะป๋อง, กะปอดกะแปด, กะปั้วกะเปี้ย, กะป่ำ, กะปุก, กะปุ่มกะป่ำ, กะเป๋า, กะเปาะ, กะโปก. กะผลีกะผลาม, กะผีก. กะพอก, กะพอง, กะพัก, กะพัง, กะพังเหิร, กะพังโหม, กะพัน, กะพี้, กะพือ, กะพุ้ง, กะเพาะ, กะเพิง, กะเพื่อม. กะฟัดกะเฟียด, กะฟูมกะฟาย. กะมัง, กะมิดกะเมี้ยน, กะเมาะ. กะย่องกะแย่ง, กะย่อม, กะยาง, กะยาหงัน, กะยิ้มกะย่อง, กะยืดกะยาด. กะรอก, กะเรียน, กะไร. กะลําพัก, กะลําพุก, กะลุมพุก, กะลุมพู. กะวาน, กะวิน, กะวีกะวาด, กะวูดกะวาด, กะเวยกะวาย, กะแวน. กะสง, กะสม, กะสร้อย, กะสวน, กะสวย, กะสอบ, กะสัง, กะสัน, กะสับกะส่าย, กะสา, กะสาบ, กะสาย, กะสือ, กะสุน, กะสูบ, กะเสด, กะเส็นกะสาย, กะเส่า, กะเสาะกะแสะ, กะเสือกกะสน, กะแสง, กะแสะ. กะหนก, กะหนาบ, กะหมั่ง, กะหัง, กะหึม, กะหืดกะหอบ, กะแห, กะแหน่, กะแหนะ, กะโห้. กะอ้อกะแอ้, กะออดกะแอด, กะออม, กะอ้อมกะแอ้ม, กะแอก, กะแอม, กะไอ.
  5. หงองแหงง : [หฺงองแหฺงง] ก. ระหองระแหง, ไม่ลงรอยกัน.

Budhism Thai-Thai Dict : หอง, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : หอง, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หอง, not found

(0.0619 sec)