Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หิริโอตตัปปะ, โอตตัปปะ, หิริ , then หร, หรอตตปป, หิริ, หิริโอตตัปปะ, หิรี, อตตปป, โอตตัปปะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : หิริโอตตัปปะ, 1 found, display 1-1
  1. superego : (N) ; ลักษณะนิสัยที่แสดงถึงความรู้สึกผิดชอบ ; Related:สติรู้ผิดรู้ชอบ, หิริโอตตัปปะ ; Syn:conscience

Thai-Eng Lexitron Dict : หิริโอตตัปปะ, 10 found, display 1-10
  1. หิริโอตตัปปะ : (N) ; conscience ; Related:shame of sins, sense of shame, sense of right or wrong ; Syn:ความละอายบาป, ความเกรงกลัวบาป ; Samp:ชาวพุทธต้องมีหิริโอตตัปปะเป็นพื้นฐาน
  2. หิริ : (N) ; shame ; Related:modesty, bashfulness ; Syn:ความละอายใจ, ความละอายบาป ; Samp:คนที่มีหิริมักมีผู้คนนับถือ
  3. อริยทรัพย์ : (N) ; seven noble treasures ; Related:excellent property, noble wealth ; Def:ทรัพย์อันประเสริฐ มี 7 ประการ คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปัญญา
  4. เทวธรรม : (N) ; god's law ; Related:excellent law, religious rites, conscience, moral sense ; Def:ธรรมสำหรับเทวดา, ธรรมสำหรับทำบุคคลให้เป็นเทวดา คือ หิริ และโอตตัปปะ
  5. หรี่ : (V) ; narrow ; Related:shrink, contract ; Syn:หยี ; Def:ทำให้ตาแคบเข้าเพื่อให้แสงสว่างเข้าตาน้อย ; Samp:เขาหรี่ตาที่หยีอยู่แล้วให้เล็กลงไปอีก เพื่อปรับม่านตาของตัวเอง
  6. หยี : (V) ; narrow one's eyes ; Related:squint ; Syn:หรี่, ตี่ ; Samp:พ่อพรานวางปืนลง หยีตามองฝ่าแดดออกไป
  7. หลิ่ว : (V) ; squint ; Related:look with one eye ; Syn:หลิ่วตา, หรี่ ; Def:ดูด้วยตาข้างเดียว ; Samp:ถ้าลูกน้องเขาทำผิดเขาก็หลิ่วตาเสียข้างหนึ่ง
  8. หลิ่วตา : (V) ; look with one eye ; Related:peer with one eye, squint ; Syn:หรี่ ; Ant:เบิ่งตา, เบิกตา ; Samp:เขาหลิ่วตาเพื่อเล็งปากกระบอกปืนไปที่เป้า
  9. การอนุมัติ : (N) ; approval ; Related:permission ; Syn:การยินยอม, การอนุญาต ; Def:การให้อำนาจกระทำการตามระเบียบที่กำหนดไว้ ; Samp:ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีการอนุมัติให้มีการลดภาษีเครื่องจักรเพื่อการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามนโยบายส่งเสริมอุตสาหรรม
  10. จุลชีววิทยา : (N) ; microbiology ; Def:วิชาที่ว่าด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ; Samp:วิชาจุลชีววิทยาเป็นวิชาที่เป็นประโยชน์แก่วงการอุตสาหรรมเป็นอันมาก

Royal Institute Thai-Thai Dict : หิริโอตตัปปะ, 9 found, display 1-9
  1. หิริโอตตัปปะ : [หิหฺริโอดตับปะ] น. ความละอายบาปและความเกรงกลัว บาป, ความละอายใจ. (ป.).
  2. โอตตัปปะ : [โอด] น. ความเกรงกลัวบาป, มักใช้เข้าคู่กับคำ หิริ เป็น หิริโอตตัปปะ. (ป.).
  3. หิริ : [หิหฺริ] น. ความละอายใจ, ความละอายบาป. (ป.; ส. หฺรี).
  4. เทวดา : คือ หิริ และ โอตตัปปะ.
  5. อริยทรัพย์ : น. ทรัพย์อันประเสริฐ มี ๗ ประการ คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปัญญา. (ป. อริย + ส. ทฺรวฺย).
  6. หรี่ : [หฺรี่] ก. ลดให้น้อยลงหรือเบาลง เช่น หรี่ไฟ หรี่วิทยุ. ว. แคบ ในคำว่า ตาหรี่.
  7. หระ : [หะระ] น. ชื่อพระอิศวร. (ป., ส. หร ว่า นําไป).
  8. นากาสาหรี : [หฺรี] น. ดอกสารภี. (ช.).
  9. หยี ๑ : ก. หรี่ (ใช้แก่ตา) ในคำว่า หยีตา. ว. หรี่, ที่แคบเรียวเล็ก, ในคำว่า ตาหยี.

Budhism Thai-Thai Dict : หิริโอตตัปปะ, 9 found, display 1-9
  1. หิริ : ความละอายแก่ใจ คือละอายต่อความชั่ว (ข้อ ๑ ในธรรมคุ้มครองโลก ๒, ข้อ ๓ ในอริยทรัพย์ ๗, ข้อ ๒ ในสัทธรรม ๗)
  2. โอตตัปปะ : ความกลัวบาป, ความเกรงกลัวต่อทุจริต, ความเกรงกลัวความชั่ว เหมือนกลัวอสรพิษ ไม่อยากเข้าใกล้ พยายามหลีกให้ห่างไกล (ข้อ ๒ ในธรรมคุ้มครองโลก ๒, ข้อ ๔ ในอริยทรัพย์ ๗, ข้อ ๓ ในสัทธรรม ๗)
  3. เทวธรรม : ธรรมของเทวดา, ธรรมที่ทำให้เป็นเทวดา หมายถึงธรรม ๒ อย่าง คือ หิริ ความละอายแก่ใจคือละอายต่อความชั่ว และ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวบาป คือ เกรงกลัวต่อความชั่ว
  4. ธรรมเป็นโลกบาล ๒ : คือ ๑.หิริ ความละอายแก่ใจ ๒.โอตตัปปะ ความกลัวบาป ดู โลกบาลธรรม
  5. โลกบาลธรรม : ธรรมคุ้มครองโลก คือ ปกครองควบคุมใจมนุษย์ไว้ให้อยู่ในความดี มิให้ละเมิดศีลธรรม และให้อยู่กันด้วยความเรียบร้อยสงบสุข ไม่เดือนร้อนสับสนวุ่นวาย มี ๒ คือ ๑.หิริ ความละอายบาป ละอายใจต่อการทำความชั่ว ๒.โอตตัปปะ ความกลัวบาป เกรงกลัวต่อความชั่วและผลของกรรมชั่ว
  6. สัทธรรม : ธรรมที่ดี, ธรรมที่แท้, ธรรมของคนดี, ธรรมของสัตบุรุษมี ๓ อย่าง คือ ๑.ปริยัติสัทธรรม สัทธรรมคือสิ่งที่พึงเล่าเรียน ได้แก่ พุทธพจน์ ๒.ปฏิบัติสัทธรรม สัทธรรมคือสิ่งพึงปฏิบัติได้แก่ไตรสิกขา ๓.ปฏิเวธสัทธรรม สัทธรรมคือผลที่พึงบรรลุ ได้แก่ มรรคผล และนิพพาน; สัทธรรม ๗ คือ ๑.ศรัทธา ๒.หิริ ๓.โอตตัปปะ ๔.พาหุสัจจะ ๕.วิริยารัมภะ ๖.สติ ๗.ปัญญา
  7. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีงาม มี ๒๕ แบ่งเป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง) ๑๙ คือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (ความคลายสงบแห่งกองเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่งจิต) กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่งจิต) กายมุทุตา (ความนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่งจิต) กายกัมมัญญตา (ความควรแก่งานแห่งกองเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่งจิต) กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก) จิตตปาคุญญตา (แห่งจิต) กายชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่งจิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวงดเว้น) ๓ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ค.อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกคืออัปปมัญญา) ๒ คือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) ง.ปัญญินทรียเจตสิก ๑ คือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ
  8. อริยทรัพย์ : ทรัพย์อันประเสริฐเป็นของติดตัว อยู่ภายในจิตใจ ดีกว่าทรัพย์ภายนอก เช่นเงินทอง เป็นต้น เพราะโจรหรือใครๆ แย่งชิงไม่ได้ และทำให้เป็นคนประเสริฐอย่างแท้จริง มี ๗ คือ สัทธา สีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปัญญา
  9. อสัทธรรม : ธรรมของอสัตบุรุษ มีหลายหมวด เช่น อสัทธรรม ๗ คือที่ตรงข้ามกับ สัทธรรม ๗ มีปราศจากศรัทธา ปราศจากหิริ เป็นต้น; ในคำว่า “ทอดกายเพื่อเสพอสัทธรรมก็ดี” หมายถึง เมถุนธรรม คือการร่วมประเวณี

ETipitaka Pali-Thai Dict : หิริโอตตัปปะ, more than 5 found, display 1-5
  1. หิริ : (อิต.) ความละอาย, ความเกลียด, ความละอายบาป, ความเกลียดบาป, ความละอายใจ, ความละอายแก่ใจ. วิ. หิรียติ ปาปาติ หิริ. หิริ ลชฺชิยํ, อิ. ฎีกาอภิฯ เป็น หิรี ธาตุ อิ ปัจ. สำเร็จรูปเป็น หิรี. ไตร. ๒๐, ๒๒ ก็เป็น หิรี.
  2. หิริโอตฺตปฺปสมฺปนฺน : (วิ.) ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ.
  3. หิริยนา : อิต. ดู หิริ
  4. หิริโกปินปฎิจฺฉาทน : (นปุ.) ผ้าเป็นเครื่องปกปิดเฉพาะซึ่งอวัยวะอันยังหิริให้กำเริบ, ผ้าปิดของลับ.
  5. หิริโกปีน : นป. สิ่งที่ยังหิริให้กำเริบ, สิ่งที่ทำให้เกิดความละอาย
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : หิริโอตตัปปะ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หิริโอตตัปปะ, 4 found, display 1-4
  1. ละอายใจ : หิริ [อิ.]
  2. ละอาย : ลชฺชติ, หรายติ, หิริต, หิรียติ
  3. ความเกรงกลัวต่อบาป : โอตฺตปฺปํ [นป.]
  4. สีเขียว : หริ

(0.2022 sec)