Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หึง , then หง, หึง .

Eng-Thai Lexitron Dict : หึง, 4 found, display 1-4
  1. jealous : (ADJ) ; ขี้หึง ; Related:หึงหวง, หึง ; Syn:envious
  2. jealousy : (N) ; ความขี้หึง ; Related:ความหึงหวง
  3. intercom : (N) ; ระบบติดต่อสื่อสารระหว่าง 2 แห่ง ; Related:เครื่องติดต่อสื่อสารกัน, อินเตอร์คอม (คำเรียกสั้นๆ ของ intercommunication)
  4. of : (PREP) ; ของ ; Related:แห่ง, ด้วย, เกี่ยวกับ, ในเรื่อง

Thai-Eng Lexitron Dict : หึง, more than 7 found, display 1-7
  1. หึง : (V) ; be jealous ; Syn:หึงหวง ; Def:หวงแหนทางชู้สาว ; Samp:สิ่งที่เขาทนไม่ได้ก็คือการที่ภรรยาเขาชอบไปอาละวาดที่ทำงานเขาเพราะหึง
  2. หึงหวง : (V) ; be jealous ; Syn:หึง ; Def:หวงแหนทางชู้สาว ; Samp:ที่เธอน้อยใจเพราะสามีไม่เคยหึงหวงเธอเลย
  3. ขี้หึง : (ADJ) ; jealous ; Related:envious ; Syn:ขี้หึงหวง, หึงหวง ; Def:ที่หวงแหนทางเพศ ไม่อยากให้ผู้อื่นเข้ามายุ่งเกี่ยวกับคนรักของตัวเอง ; Samp:แม่บ้านผมเป็นคนขี้หึงมากคอยตามรังควานไปทุกหย่อมหญ้า
  4. ความหึงหวง : (N) ; jealousy ; Related:envy ; Def:การหวงแหนทางประเวณี ; Samp:การตายของคารามาซอฟเกิดจากโทสะและความหึงหวงของมิตยา
  5. ทรหึง 2 : (ADV) ; boisterously ; Related:loudly, noisy, screechingly ; Syn:เอ็ดอึง, ทระหึง, อึงมี่, อึงอล ; Ant:เงียบ ; Samp:พวกเด็กๆ ตะโกนกันทรหึงไปทั่ว
  6. หิงสา : (N) ; persecution ; Related:oppression, malevolence ; Syn:ความเบียดเบียน, การทำร้าย, หึงสา ; Def:การคิดให้เขาทนทุกข์ ; Samp:พระพุทธเจ้าสอนว่าให้เลิกการมีหิงสาต่อกัน
  7. อหิงสา : (N) ; nonviolence ; Related:non-oppression, harmlessness ; Syn:หึงสา, ความไม่เบียดเบียน ; Def:การเว้นจากการทำร้าย ; Samp:ขณะนี้ทางกลุ่มได้เปลี่ยนมายึดอหิงสาเรียบร้อยแล้ว
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : หึง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : หึง, more than 5 found, display 1-5
  1. หึง : ก. หวงแหนทางชู้สาว, มักใช้เข้าคู่กับคำ หวง เป็น หึงหวง หรือ หวงหึง.
  2. หึง : (โบ) ว. นาน เช่น บ่มิหึง คือ ไม่นาน.
  3. หึงส-, หึงสา : [หึงสะ-] น. ความเบียดเบียน, การทําร้าย, การคิดให้เขาทนทุกข์, หิงสา ก็ว่า, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ พยาบาท เป็น หึงสาพยาบาท หรือ หิงสา พยาบาท. (ป., ส. หึสา).
  4. หง : ว. มีสีแดงเจือสีขาวทำให้สีแดงนั้นอ่อนลง เช่น หงเสน คือ สีแดงเสนผสม สีขาว, หงชาด คือ สีแดงชาดผสมสีขาว หงดิน คือ สีแดงเลือดหมูผสมสีขาว.
  5. อหิงสา, อหึงสา : [อะ] น. ความไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทําร้าย. (ป., ส.).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : หึง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : หึง, 8 found, display 1-8
  1. อิสสา : ความริษยา, ความรู้สึกไม่พอใจเมื่อเห็นเขาไดดี, เห็นเขาได้ดีทนอยู่ไม่ได้, ไม่อยากให้ใครดีกว่าตน, ความคิดตัดรอนผู้ที่ดีกว่าตน; ความหึงหวง (ข้อ ๓ ในมละ ๙, ข้อ ๗ ในอุปกิเลส ๑๖)
  2. ข้าวสุก : ในโภชนะ ๕ อย่างคือ ข้าวสุก ๑ ขนมสด ๑ ขนมแห้ง ๑ ปลา ๑ เนื้อ ๑ ข้าวสุกในที่นี้หมายถึงธัญญชาติทุกชนิด ที่หงให้สุกแล้ว เช่นข้าวเจ้าข้าวเหนียว หรือที่ตกแต่งเป็นของต่างชนิด เช่น ข้าวมัน ข้าวผัด เป็นต้น
  3. จัมเปยยขันธกะ : ชื่อขันธกะที่ ๙ แห่ง คัมภีร์มหาวรรค วินัยปิฎก ว่าด้วยข้อควรทราบบางแง่เกี่ยวกับนิคคหกรรมต่างๆ
  4. นาคิตะ : พระเถระมหาสาวกองค์หนึ่ง เคยเป็นอุปัฏฐากของพระพุทธองค์ มีพระสูตรที่พระพุทธเจ้าตรัสแก่ท่านเกี่ยวกับเนกขัมมสุข ปรากฏอยู่ในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย ๒-๓ แห่ง
  5. มุสาวาทวรรค : ตอนที่ว่าด้วยเรื่องพูดปดเป็นต้น เป็นวรรคที่ ๑ แห่ง ปาจิตติยกัณฑ์ ในมหาวิภังค์ แห่งวินัยปิฎก
  6. ลุมพินีวัน : ชื่อสวนเป็นที่ประสูติของพระพุทธเจ้า เป็นสังเวชนียสถานหนึ่งใน ๔ แห่ง ตั้งอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์ และกรุงเทวทหะ บัดนี้เรียก รุมมินเด อยู่ที่ปาเดเรีย ในเขตประเทศเนปาล ห่างจากเขตแดนประเทศอินเดียไปทางเหนือ ประมาณ ๖ กิโลเมตรครึ่ง พระสิทธัตถะประสูติที่สวนนี้ เมื่อวันเพ็ญเดือน ๖ ก่อนพุทธศก ๘๐ ปี (มีปราชญ์คำนวณว่าตรงกับวันศุกร์ ปีจอ เวลาใกล้เที่ยง) ดู สังเวชนียสถาน
  7. อโศกมหาราช : พระราชาผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชมพูทวีป และเป็นพุทธศาสนูปถัมภกที่สำคัญยิ่ง เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ ๓ แห่งราชวงศ์ โมริยะ ครองราชสมบัติ ณ พระนคร ปาฎลีบุตร ตั้งแต่ พ) ศ) ๒๑๘ ถึง พ) ศ) ๒๖๐ (นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันส่วนมากกว่า พ) ศ) ๒๗๐-๓๒๑) เมื่อครองราชย์ได้ ๘ พรรษา ทรงยกทัพไปปราบแคว้นกลิงคะที่เป็นชนชาติเข้มแข็งลงได้ ทำให้อาณาจักรของพระองค์กว้างใหญ่ที่สุดในประวัติชาติอินเดีย แต่ในการสงครามนั้น มีผู้คนล้มตายและประสบภัยพิบัติมากมาย ทำให้พระองค์สลดพระทัย พอดีได้ทรงสดับคำสอนในพระพุทธศาสนา ทรงเลื่อมใสได้ทรงเลิกการสงคราม หันมาทำนุบำรุงพระศาสนาและความรุ่งเรืองในทางสงบของประเทศ ทรงสร้างมหาวิหาร ๘๔,๐๐๐ แห่ง ทรงอุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ ๓ และการส่งศาสนทูตออกไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาในนานาประเทศ เช่น พระมหินถเถระ ไปยังลังกาทวีป และพระโสณะพระอุตตระมายังสุวรรณภูมิ เป็นต้น ชาวพุทธไทยมักเรียกพระองค์ว่าพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช
  8. อุปวาณะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่งเกิดในตระกูลพราหมณ์ผู้มั่งคั่ง ในนครสาวัตถี ได้เห็นพระพุทธองค์ในพิธีถวายวัดพระเชตวัน เกิดความเลื่อมใส จึงได้มาบวชในพระศาสนาและได้บรรลุอรหัตตผล ท่านเคยเป็นอุปัฏฐากของพระพุทธองค์ แม้ในวันปรินิพพาน พระอุปวาณะก็ถวายงานพัดอยู่เฉพาะพระพักตร์ เรื่องราวเกี่ยวกับท่านปรากฏในพระไตรปิฎก ๔-๕ แห่ง เช่น เรื่องที่ท่านสนทนากับพระสารีบุตร เกี่ยวกับโพชฌงค์ ๗ ประการ เป็นต้น

ETipitaka Pali-Thai Dict : หึง, more than 5 found, display 1-5
  1. อนิสฺสุกี : ค. ไม่ริษยา, ไม่หึง
  2. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  3. ตณฺหงกร : (ปุ.) ตัณหังกร พระนามของ พระ พุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง.
  4. กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
  5. กุกฺกุตฺถก กุกุตฺถก : (ปุ.) นกกวัก, ไก่ป่า. กุสฺ สทฺเท,ถโก, ทฺวิตฺตํ, กุสสฺส สสฺส โต(แปลง ส แห่ง กุส เป็น ต). ศัพท์ต้นซ้อน กฺ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : หึง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หึง, not found

(0.1468 sec)