ฑสาจ : (ปุ.) เหลือบ. ฑํสฺ+อจ ปัจ.
อิกฺกฏ : (ปุ.) หญ้าปล้อง, อิจฺ สุติยํ, อโฏ. แปลง จ เป็น ก ซ้อน กฺ
อิกฺกาส : (นปุ.) ยางไม้. อิจฺ สุติยํ, อโส.
อิก อิกฺก : (ปุ.) หมี. อิจฺ สุติยํ ถุติยํ วา, อ, จสฺส โก. ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
อุทีจิ : (อิต.) ทิศเหนือ, ทิศอุดร. วิ. อุทฺธํ อํจติ ยสฺสํ สา อุทีจิ. ยสฺสํ วา รวิ สีตวิโยคตํ ทตฺวา วญฺจติ สา อุทีจิ. อุทฺธํปุพฺโพ, อํจฺ คมเน, อิ. ส. อุทีจิ.
อูกา : (อิต.) เหา, เล็น. อุจฺ สมวาเย อ, จสฺสโก.
โอฆ : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, หมวด, กอง, คณะ. อวปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ, หนสฺสโฆ. อุจฺ สมวาเย วา, โณ, จสฺสโฆ. ส. โอฆ.
โองฺการ : (ปุ.) คำเปล่ง, โองการ (คำศักดิ์ สิทธิ์). อุจฺ สทฺเท, อาโร. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ นิคคหิตอาคม แปลง จฺ เป็น ก ทาง พราหมณ์ (ฮินดู) หมายเอกพระเจ้าทั้ง ๓ คือ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะ.