อิจฺฉา : (อิต.) อิจฉา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความปรารถนา, ฯลฯ. วิ. เอสนํ อิจฺฉา. รูปฯ ๕๘๓. ไทยใช้ อิจฉา เป็นกิริยาใน ความว่า ริษยา. ส. อิจฉา.
ยทิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาอย่างไร, ความประสงค์อย่างไร, ความประพฤติตามอำเภอใจ. วิ. ยา ยา อิจฺฉา อธิปฺปาโย ยทิจฺฉา.
อจฺฉิ : (นปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, แสงไฟ, รัศมี, แสง, ตา, นัยน์ตา, วิ. อจฺฉติ เอเตนานิอจฺฉิ. อจฺฉ ทสฺสนพฺยาปเนสุ, อิ.
อจฺฉ : (วิ.) ใส, ผ่องใส, แจ่มใส, ไม่มีมลทิน.วิ.น ฉินฺทติทสฺสนนฺติอจฺโฉ.นปุพฺโพ, ฉิทิ ทฺวิธากรเณ, โณ, ทิโลโปจฺสํโยโค. ส. อจฺฉ.
อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
อุจฺฉุ : (ปุ.) อ้อย วิ. อุสติ สนฺตาปนนฺติ อุจฺฉุ. อุสฺ ทาเห, อุ, สสฺส จฺโฉ. อิสุ อิจฺฉายํ วา, อุ, อุสฺสุ, สสฺส โฉ, อสรูปทฺวิตฺตํ. ส. อักฺษว.
อจฺฉิน : (ปุ.) ไฟ, ฯลฯ, แสง, อจฺฉฺ ธาตุ อินปัจ.