ขมวด : [ขะหฺมวด] ก. บิดม้วนแล้วขอดให้เป็นปม, โดยปริยายหมายความว่า ย่นย่อข้อความทิ้งท้ายไว้ให้คิด. น. ลักษณนามเรียกของที่ขมวด อย่างนั้น เช่น หัวหอม ๔ ขมวด.
เจียว ๒ : ว. เชียว, ทีเดียว, อย่างนั้น, แน่นอน.
ฉะนั้น : ว. ฉันนั้น, เช่นนั้น, อย่างนั้น, ดังนั้น, ดั่งนั้น, เพราะฉะนั้น, เพราะเหตุนั้น.
ฉันนั้น : ส. อย่างนั้น, เช่นนั้น, (เป็นคำรับใช้เข้าคู่กับคำ ฉันใด).
ไซร้ : [ไซ้] ว. คําสําหรับเน้นความหมายของคําหน้า มีความหมาย ไปในทางว่า อย่างนั้น, เช่นนั้น, ทีเดียว.
ตถาคต : [ตะถาคด] น. พระนามพระพุทธเจ้า. (ป. ตถาคต ว่า พระผู้ไปแล้ว อย่างนั้น เป็นคําที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกพระองค์เอง).
ตถา : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, เหมือน กัน, เหมือนอย่างนั้น, มีอุปมัยเหมือน อย่างนั้น, ประการนั้น. รูปฯ ๔0๕ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ วิภัตติ กัจฯ ๓๙๘ ตั้ง วิ. ไว้ทุกวิภัตติ ตามแต่เนื้อความในประโยคนั้น ๆ.
ตถาวิธ : ค. เหมือนอย่างนั้น, เช่นนั้น, ดังนั้น, อย่างนั้น
ตถา เอว ตเถว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น นั่นเที่ยว, เหมือนอย่างนั้น.
อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
เอทิส : ค. เช่นนี้, เช่นนั้น, อย่างนั้น
เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.