Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างมั่นเหมาะ, เหมาะ, อย่าง, มั่น .

Eng-Thai Lexitron Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more than 7 found, display 1-7
  1. apposite : (ADJ) ; เหมาะ ; Syn:relevant, appropriate
  2. right : (ADJ) ; เหมาะ ; Related:ควร, ถูกกาละเทศะ ; Syn:appropriate, proper, suitable
  3. decently : (ADV) ; อย่างเหมาะสม ; Related:อย่างสมควร, อย่างถูกทำนองคลองธรรม ; Syn:proprely, seemly
  4. decorously : (ADV) ; อย่างเหมาะสม ; Related:อย่างมีมารยาท ; Syn:properly
  5. improperly : (ADV) ; อย่างไม่เหมาะสม ; Related:อย่างไม่ถูกต้อง, อย่างไม่สมควร ; Syn:unbecomingly, unsuitably ; Ant:properly, suitably
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more than 7 found, display 1-7
  1. อย่างมั่นเหมาะ : (ADV) ; surely ; Related:fixedly, readily, certainly, definitely, absolutely ; Syn:เป็นมั่นเหมาะ, หนักแน่น, อย่างมั่นเหมาะ ; Ant:ไม่แน่นอน ; Def:อย่างมั่นคง, อย่างแน่ใจ ; Samp:เขารับปากอย่างมั่นเหมาะแล้วว่าจะไปกับพวกเรา
  2. เป็นมั่นเหมาะ : (ADV) ; surely ; Related:fixedly, readily, certainly, definitely, absolutely ; Syn:อย่างมั่นเหมาะ, เป็นมั่นเป็นเหมาะ, แน่นอน ; Ant:ไม่แน่นอน ; Def:อย่างเป็นความจริง, อย่างมีความแน่นอน ; Samp:เจ้านายยืนยันเป็นมั่นเหมาะว่า จะไม่มีการจ้างคนออก
  3. เป็นมั่นเป็นเหมาะ : (ADV) ; surely ; Related:fixedly, readily, certainly, definitely, absolutely ; Syn:เป็นมั่นเหมาะ, แน่นอน, หนักแน่น, อย่างมั่นเหมาะ ; Ant:ไม่แน่นอน ; Samp:เจ้านายยืนยันเป็นมั่นเป็นเหมาะว่าจะไม่มีการจ้างคนออก
  4. หนักแน่น : (ADV) ; surely ; Related:fixedly, readily, certainly, definitely, absolutely ; Syn:เป็นมั่นเหมาะ, อย่างมั่นเหมาะ ; Ant:ไม่แน่นอน ; Def:อย่างมั่นคง, ไม่ท้อถอย, อย่างแน่ใจ ; Samp:ท่านนายกยืนยันอย่างหนักแน่นว่า จะช่วยเหลือเกษตรกรอย่างดีที่สุด
  5. เหมาะ : (V) ; be suitable for ; Related:fit, be appropriate, be proper ; Syn:เหมาะสม, พอเหมาะ ; Samp:การเดินและกายบริหารเป็นนำการออกกำลังที่เหมาะกับบุคคลทุกวัย
  6. อย่าง : (ADV) ; severely ; Related:extremely, seriously, comprehensively, greatly ; Def:เขียนหน้าคุณศัพท์เพื่อให้คุณศัพท์แสดงเป็นคำวิเศษณ์ขยายความคำคุณศัพท์ ; Samp:การกีดกันทางการค้านี้ก่อให้เกิดผลเสียอย่างมากต่อทั้งประเทศผู้ส่งออกและประเทศผู้นำเข้า
  7. อย่าง : (N) ; type ; Related:kind, sort ; Syn:ชนิด, สิ่ง ; Samp:โครงสร้างของสะพานรถไฟบางอย่างออกแบบไว้สำหรับการบรรทุกน้ำมันเครื่องเคมีที่เป็นของเหลวและปูนซีเมนต์
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more than 5 found, display 1-5
  1. อย่าง : [หฺย่าง] น. วิธี, แบบ, เยี่ยง, เช่น ทำอย่างนี้ เขียนอย่างนั้น, ลักษณนาม บอกจำนวน หมายถึง ชนิด, สิ่ง, เช่น ทำกับข้าวไว้ ๒ อย่าง ทำงาน หลายอย่าง. ว. เหมือน เช่น อย่างใจ อย่างเคย, ใช้ประกอบคําวิเศษณ์ หมายความว่า โดยอาการที่ เช่น อย่างดี อย่างเข้มแข็ง.
  2. มั่น : ว. แน่, แน่นอน, เช่น ใจมั่น; แน่น เช่น จับให้มั่น.
  3. เหมาะ : ว. ดี เช่น ได้โอกาสเหมาะ, พอดี เช่น กำลังเหมาะ, สมควร เช่น โอกาสนี้ ไม่เหมาะจะเข้าพบผู้ใหญ่, คู่ควร เช่น ๒ คนนี้เหมาะกัน.
  4. มั่นเหมาะ : ว. แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง เช่น พูดไว้เป็นมั่นเหมาะว่าวันนี้จะต้องพบกัน.
  5. เป็นมั่นเป็นเหมาะ : ว. มั่นคง, แข็งขัน, หนักแน่น.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more than 5 found, display 1-5
  1. ที่สุด ๒ อย่าง : ข้อปฏิบัติที่ผิดพลาดไม่อาจนำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้ ๒ อย่าง คือ ๑.การประกอบตนให้พัวพันด้วยความสุขในกามทั้งหลาย เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ๒.การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า หรือการทรมานตนให้ลำบากเปล่า เรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค
  2. สังโยชน์ : กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ มี ๑๐ อย่าง คือ ก.โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ ได้แก่ ๑.สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ๒.วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ๓.สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต ๔.กามราคะ ความติดใจในกามคุณ ๕.ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ข.อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง ๕ ได้แก่ ๖.รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต ๗.อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม ๘.มานะ ความถือว่าตนเป็นนั่นเป็นนี่ ๙.อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน ๑๐.อวิชชา ความไม่รู้จริง; พระโสดาบัน ละสังโยชน์ ๓ ข้อต้นได้, พระสกิทาคามี ทำสังโยชน์ข้อ ๔ และ ๕ ให้เบาบางลงด้วย, พระอนาคามี ละสังโยชน์ ๕ ข้อต้นได้หมด, พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง ๑๐ ข้อ; ในพระอภิธรรมท่านแสดงสังโยชน์อีกหมวดหนึ่ง คือ ๑.กามราคะ ๒.ปฏิฆะ ๓.มานะ ๔.ทิฏฐิ (ความเห็นผิด) ๕.วิจิกิจฉา ๖.สีลัพพตปรามาส ๗.ภวราคะ (ความติดใจในภพ) ๘.อิสสา (ความริษยา) ๙.มัจฉริยะ (ความตระหนี่) ๑๐.อวิชชา
  3. สัปปายะ : สิ่ง สถาน หรือบุคคล ซึ่งเป็นที่สบาย เหมาะกัน เกื้อกูล หรือเอื้ออำนวยโดยเฉพาะที่ช่วยเกื้อกูลแก่การบำเพ็ญและประคับประคองรักษาสมาธิ ท่านแสดงไว้ ๗ อย่าง คือ อาวาส (ที่อยู่) โคจร (ที่บิณฑบาตหรือแหล่งอาหาร) ภัสสะ (เรื่องพูดคุยที่เสริมการปฏิบัติ) บุคคล (ผู้ที่เกี่ยวข้องด้วยแล้วช่วยให้จิตผ่องใสสงบมั่นคง) โภชนะ (อาหาร) อุตุ (สภาพแวดล้อมและอุณหภูมิ) อิริยาบถ; ทั้ง ๗ นี้ที่เหมาะกันเป็นสัปปายะ ที่ไม่สบายเป็นอสัปปายะ
  4. อธิษฐานธรรม : ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ, ธรรมเป็นที่มั่น มี ๔ อย่าง คือ ๑) ปัญญา ๒) สัจจะ ๓) จาคะ ๔) อุปสมะ (รู้จักหาความสงบใจ)
  5. กถาวัตถุ : ถ้อยคำที่ควรพูด, เรื่องที่ควรนำมาสนทนากันในหมู่ภิกษุ มี ๑๐ อย่างคือ ๑.อัปปิจฉกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้มีความปรารถนาน้อย ๒.สันตุฏฐิกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้มีความสันโดษ ๓.ปวิเวกกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้มีความสงัดกายสงัดใจ ๔.อสังสัคคกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ ๕.วิริยารัมภกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ปรารภความเพียร ๖.สีลกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ตั้งอยู่ในศีล ๗.สมาธิกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ทำจิตมั่น ๘.ปัญญากถา ถ้อยคำที่ชักนำให้เกิดปัญญา ๙.วิมุตติกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ทำใจให้พ้นจากกิเลสและความทุกข์ ๑๐.วิมุตติญาณทัสสนกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้เกิดความรู้ความเห็นในภาวะที่หลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์ - 1. "Points of controversy"; name of the fifth book of the Abidhamma Pitaka. 2.a subject of discussion.
  6. Budhism Thai-Thai Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more than 5 found, display 1-5
  1. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  2. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  3. ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
  4. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  5. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more than 5 found, display 1-5
  1. การหัวเราะอย่างครื้นเครง : อฏฺฏหาส [ป.]
  2. ตั้งมั่น : ปติฏฺฐาสิ
  3. ปฏิบัติให้สมควรเหมาะสม : ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน วิหรติ
  4. ประพฤติเหมาะสม : สภาควุตฺติ
  5. ปักมั่น : อวฏฺฐิต, อวตฺถิต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อย่างมั่นเหมาะ, more results...

(0.4070 sec)