Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างสบาย, อย่าง, สบาย , then สบาย, สปาย, อยาง, อย่าง, อยางสบาย, อย่างสบาย .

Eng-Thai Lexitron Dict : อย่างสบาย, more than 7 found, display 1-7
  1. easily : (ADV) ; อย่างสะดวก ; Related:อย่างสบาย, อย่างง่ายดาย, อย่างราบรื่น, โดยไม่ลำบาก ; Syn:effortlessly, facilely, readily ; Ant:laboriously, weary
  2. well 2 : (ADV) ; อย่างสุขสบาย ; Related:อย่างสะดวกสบาย, อย่างราบรื่น
  3. comfortably : (ADV) ; อย่างสะดวกสบาย ; Related:อย่างสบาย ; Syn:restfully, snugly, cozily, conveniently, easily ; Ant:uncomfortably
  4. morbidly : (ADV) ; อย่างไม่สบาย ; Related:อย่างมีสุขภาพไม่ดี ; Syn:unnaturelly, insanely, weirdly
  5. grateful : (ADJ) ; อย่างสุขสบาย ; Related:น่าสบาย ; Syn:pleasant, pleasurable ; Ant:unenjoyable
  6. be lapped in luxury : (IDM) ; มีชีวิตอย่างสุขสบาย ; Related:ดำรงชีวิตอย่างสุขสบาย
  7. lie about 1 : (PHRV) ; นอนอย่างสบาย (ไม่ทำอะไร) ; Related:พักผ่อนอย่างสบาย ; Syn:lay about, lie around
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : อย่างสบาย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อย่างสบาย, more than 7 found, display 1-7
  1. อย่าง : (N) ; type ; Related:kind, sort ; Syn:ชนิด, สิ่ง ; Samp:โครงสร้างของสะพานรถไฟบางอย่างออกแบบไว้สำหรับการบรรทุกน้ำมันเครื่องเคมีที่เป็นของเหลวและปูนซีเมนต์
  2. อย่าง : (ADV) ; severely ; Related:extremely, seriously, comprehensively, greatly ; Def:เขียนหน้าคุณศัพท์เพื่อให้คุณศัพท์แสดงเป็นคำวิเศษณ์ขยายความคำคุณศัพท์ ; Samp:การกีดกันทางการค้านี้ก่อให้เกิดผลเสียอย่างมากต่อทั้งประเทศผู้ส่งออกและประเทศผู้นำเข้า
  3. สบาย : (V) ; be comfortable ; Related:be well, be happy, be snug, be cozy ; Syn:สบาย ; Ant:ลำบาก ; Def:เป็นสุขกายสุขใจ ; Samp:มันเป็นการยากที่จะเข้าใจหากจะโทษผมว่าเพราะผมสบายมาตลอดผม จึงไม่เข้าใจความทุกข์ของคนอื่น
  4. อย่าง : (N) ; method ; Related:way, means ; Syn:ทำนอง, วิธี, แบบ
  5. สบาย : (ADV) ; easily ; Related:comfortably, smoothly, without difficulty, with ease ; Syn:สบาย, ง่าย ; Ant:ลำบาก ; Def:อย่างสุขกายสุขใจ ; Samp:วิดีโอดิสก์สามารถเก็บสารานุกรมได้อย่างสบาย
  6. สบาย : (V) ; be comfortable ; Related:be well, be happy, be snug, be cosy ; Ant:ลำบาก ; Def:เป็นสุขกายสุขใจ ; Samp:มันเป็นการยากที่จะเข้าใจหากจะโทษผมว่าเพราะผมสบายมาตลอดผม จึงไม่เข้าใจความทุกข์ของคนอื่น
  7. อย่างลำบาก : (ADV) ; difficulty ; Related:miserably, badly, hard to do, with difficulty ; Ant:อย่างง่ายดาย, อย่างสบาย ; Samp:คุณยายที่นอนอยู่ข้างๆ เตียงคุณแม่ลุกเดินไปไหนอย่างลำบาก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : อย่างสบาย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างสบาย, more than 5 found, display 1-5
  1. อย่าง : [หฺย่าง] น. วิธี, แบบ, เยี่ยง, เช่น ทำอย่างนี้ เขียนอย่างนั้น, ลักษณนาม บอกจำนวน หมายถึง ชนิด, สิ่ง, เช่น ทำกับข้าวไว้ ๒ อย่าง ทำงาน หลายอย่าง. ว. เหมือน เช่น อย่างใจ อย่างเคย, ใช้ประกอบคําวิเศษณ์ หมายความว่า โดยอาการที่ เช่น อย่างดี อย่างเข้มแข็ง.
  2. สบาย : [สะบาย] ว. อยู่ดีกินดี เช่น เดี๋ยวนี้เขาสบายขึ้น ลูก ๆ ทำงานหมดแล้ว, เป็นสุขกายสุขใจ เช่น เวลานี้เขาสบายแล้ว เพราะมีฐานะดีขึ้น ไม่มี วิตกกังวลใด ๆ; สะดวก เช่น ทำตามสบายไม่ต้องเกรงใจ มีรถส่วนตัว สบายกว่าไปรถประจำทาง, มักใช้เข้าคู่กับคำ สุข หรือ สะดวก เป็น สุขสบาย หรือ สะดวกสบาย; พอเหมาะพอดี เช่น เก้าอี้ตัวนี้นั่งสบาย; ไม่ลำบากกาย เช่น เขาทำงานสบายขึ้น ไม่ต้องแบกหามเหมือน เมื่อก่อน; ไม่เจ็บไม่ไข้ เช่น เวลานี้เขาสบายดี ไม่ป่วยไข้; มีความ พอใจเมื่อได้สัมผัส เช่น สบายหู สบายตา สบายกาย. (ป. สปฺปาย).
  3. สบายอารมณ์ : ว. มีอารมณ์เบิกบาน เช่น เขาทำงานไปร้องเพลงไป อย่างสบายอารมณ์ วันนี้ขอดูภาพยนตร์ให้สบายอารมณ์สักวัน.
  4. ขวัญ : [ขฺวัน] น. ผมหรือขนที่ขึ้นเวียนเป็นก้นหอย; มิ่งมงคล, สิริ, ความดี, เช่น ขวัญข้าว ขวัญเรือน; สิ่งที่ไม่มีตัวตน เชื่อกันว่ามีอยู่ประจําชีวิตของคน ตั้งแต่เกิดมา ถ้าขวัญอยู่กับตัวก็เป็นสิริมงคล เป็นสุขสบายจิตใจมั่นคง ถ้าคนตกใจหรือเสียขวัญ ขวัญก็ออกจากร่างไป ซึ่งเรียกว่า ขวัญหาย ขวัญหนี ขวัญบิน เป็นต้น ทําให้คนนั้นได้รับผลร้ายต่าง ๆ, เรียกผู้ตกใจ ง่ายคือ เด็กหรือหญิงซึ่งมักจะขวัญหายบ่อย ๆ ว่า ขวัญอ่อน, และอนุโลม ใช้ไปถึงสัตว์หรือสิ่งของบางอย่าง เช่น ช้าง ม้า ข้าว เรือน ฯลฯ ว่ามีขวัญ เช่นเดียวกับคนเหมือนกัน, โดยปริยายหมายความว่า ยอดกำลังใจเช่น ขวัญเมือง ว่า ยอดกําลังใจของเมือง; กําลังใจดี เช่น ขวัญดี; ผู้รู้พิธีทําขวัญ เรียกว่า หมอขวัญ; การทําพิธีเชิญขวัญหมายความว่า เรียกขวัญ มาอยู่กับตัว; การเสียเงินค่าปรับให้แก่ผู้ถูกทําร้ายหรือถูกหมิ่นประมาท เรียกว่า ทำขวัญ; เอาเส้นด้ายผูกข้อมือเด็กแล้วกล่าวเรียก ขวัญว่า ``ขวัญเอ๋ย มาอยู่กับเนื้อกับตัว'' แล้วกล่าวให้พรต่อไปตามควร เรียกว่า ผูกขวัญ; เรียกขวัญหรือเชิญขวัญ เรียกว่า รับขวัญ; ทําพิธี เช่น รดนํ้ามนตร์ให้ เสกเป่าให้ หรือกล่าวปลุกใจต่าง ๆ เพื่อให้ขวัญดีมีใจกล้าหาญ เรียกว่า บำรุงขวัญ; สิ่งของที่ให้แก่เจ้าของขวัญ เมื่อเสร็จพิธีทําขวัญแล้ว หรือสิ่งของที่ให้กันในเวลาอื่นเป็นการถนอมขวัญ หรือเพื่ออัธยาศัยไมตรี เรียกว่า ของขวัญ; ข้าวบายศรี เรียกว่า ข้าวขวัญ; ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี เรียกว่า ไข่ขวัญ, ไข่ข้าว ก็เรียก; ลูกคนที่รักมากที่สุด เรียกว่า ลูกขวัญ; ผู้ที่เป็นมิ่งขวัญอย่างยอดเยี่ยมหมายถึง หญิงที่รัก เรียกว่า จอมขวัญ; คำยกย่องเรียกภรรยาอันเป็นที่รักว่า เมียขวัญ; กําลังใจเสีย เรียกว่า เสียขวัญ.
  5. เขลง ๑ : [เขฺลง] ว. ทอดอารมณ์อย่างสบาย (ใช้แก่กริยานอน).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างสบาย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อย่างสบาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ที่สุด ๒ อย่าง : ข้อปฏิบัติที่ผิดพลาดไม่อาจนำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้ ๒ อย่าง คือ ๑.การประกอบตนให้พัวพันด้วยความสุขในกามทั้งหลาย เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ๒.การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า หรือการทรมานตนให้ลำบากเปล่า เรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค
  2. เวทนา : ความเสวยอารมณ์, ความรู้สึก, ความรู้สึกสุขทุกข์ มี ๓ อย่าง คือ ๑.สุขเวทนา ความรู้สึกสุขสบาย ๒.ทุกขเวทนา ความรู้สึกไม่สบาย ๓.อทุกขมสุขเวทนา ความรู้สึกไม่สุข ไม่ทุกข์ คือ เฉยๆ เรียกอีกอย่างว่า อุเบกขาเวทนา; อีกหมวดหนึ่งจัดเป็น เวทนา ๕ คือ ๑.สุข สบายกาย ๒.ทุกข์ ไม่สบายกาย ๓.โสมนัส สบายใจ ๔.โทมนัส ไม่สบายใจ ๕.อุเบกขา เฉยๆ; ในภาษาไทย ใช้หมายความว่าเจ็บปวดบ้าง สงสารบ้าง ก็มี
  3. เวปุลละ : ความไพบูลย์, ความเต็มเปี่ยม, ความเจริญเต็มที่ มี ๒ อย่าง คือ ๑.อามิสเวปุลละ อามิสไพบูลย์ หรือความไพบูลย์แห่งอามิส หมายถึง ความมากมายพรั่งพร้อมด้วยปัจจัย ๔ ตลอดจนวัตถุอำนวยความสุดความสะดวกสบายต่างๆ ๒.ธัมมเวปุลละ ธรรมไพบูลย์หรือความไพบูลย์แห่งธรรม หมายถึง ความเจริญเต็มเปี่ยมเพียบพร้อมแห่งธรรม ด้วยการฝึกอบรมปลูกฝังให้มีในตนจนเต็มบริบูรณ์ หรือด้วยการประพฤติปฏิบัติกันในสังคมจนแพร่หลายทั่วไปทั้งหมด
  4. สัปปายะ : สิ่ง สถาน หรือบุคคล ซึ่งเป็นที่สบาย เหมาะกัน เกื้อกูล หรือเอื้ออำนวยโดยเฉพาะที่ช่วยเกื้อกูลแก่การบำเพ็ญและประคับประคองรักษาสมาธิ ท่านแสดงไว้ ๗ อย่าง คือ อาวาส (ที่อยู่) โคจร (ที่บิณฑบาตหรือแหล่งอาหาร) ภัสสะ (เรื่องพูดคุยที่เสริมการปฏิบัติ) บุคคล (ผู้ที่เกี่ยวข้องด้วยแล้วช่วยให้จิตผ่องใสสงบมั่นคง) โภชนะ (อาหาร) อุตุ (สภาพแวดล้อมและอุณหภูมิ) อิริยาบถ; ทั้ง ๗ นี้ที่เหมาะกันเป็นสัปปายะ ที่ไม่สบายเป็นอสัปปายะ
  5. เยี่ยง : อย่าง, แบบ, เช่น
  6. Budhism Thai-Thai Dict : อย่างสบาย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างสบาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ยถาสุข : ก. วิ. ตามสะดวกสบาย, อย่างสะดวกสบาย
  2. อผาสุก : ก. วิ. อย่างไม่สบาย
  3. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  4. ปการ : ป. การทำทั่ว, วิธี, อาการ, อย่าง, ชนิด
  5. ปเภท : (ปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, การแยก ออกเป็นส่วน ๆ, การแตก, การทำลาย, ความแตกต่าง, ความต่างกัน, ชนิด, อย่าง, แผนก, ส่วน. ปปุพฺโพ, ภิทิ ทฺวิธากรเณเภ- เท จ, อ. ส. ปฺรเภท.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างสบาย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อย่างสบาย, 10 found, display 1-10
  1. สบายไม่มีโรค : อโรคีนํเยว สปฺปายา โหนฺติ
  2. การหัวเราะอย่างครื้นเครง : อฏฺฏหาส [ป.]
  3. ความสบาย : ผาสุกํ, อนามยํ, อาโรคฺยํ
  4. ตามสบาย : ยถาสุขํ, ยถาผาสุกํ
  5. เป็นแบบอย่าง : ทิฏฺฐานุคติกา
  6. พยายามอย่างหนัก : ทฬฺหปรกฺกโม
  7. รับรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง : สพฺพหารก
  8. อยู่อย่างเดียวดาย : เอกโก
  9. อยู่อย่างมีคุณธรรม : วิหรติ
  10. เอาใจใส่อย่างดี : สเมน ธมฺเมน รกฺขิตํ โหติ โคปิตํ

(0.5732 sec)