Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างไร , then อยางร, อย่างไร .

Eng-Thai Lexitron Dict : อย่างไร, more than 7 found, display 1-7
  1. what : (ADV) ; อย่างไร (เพื่อวัดระดับมากน้อย) ; Syn:how
  2. wherein : (ADV) ; อย่างไร (คำโบราณ) ; Syn:how
  3. after all : (IDM) ; อย่างไรก็ตาม ; Related:ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม
  4. however : (CONJ) ; อย่างไรก็ตาม ; Related:แม้กระนั้น, โดยวิธีใดก็ตาม, อย่างไรก็ดี
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : อย่างไร, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อย่างไร, more than 7 found, display 1-7
  1. อย่างไร : (QUES) ; how ; Related:what ; Syn:เช่นไร, ยังไง ; Samp:ความงามความดีมนุษย์ สร้างขึ้นมาได้อย่างไร
  2. อย่างไรก็ดี : (ADV) ; however ; Related:any way ; Syn:อย่างไรก็ตาม ; Samp:อย่างไรก็ดี การวิจัยยังจะต้องดำเนินต่อไปแน่นอน
  3. อย่างไรก็ตาม : (CONJ) ; however ; Related:nevertheless, but ; Syn:อย่างไรก็ดี, แม้กระนั้น, แต่ ; Samp:ในการรบครั้งนั้นฝ่ายรัฐบาลสูญเสียนายทหารและพลทหารไปเป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตามทางฝ่ายรัฐบาลก็หาได้หยุดยั้งการรุกต่อไปไม่
  4. อย่างไรบ้าง : (QUES) ; what ; Related:how ; Samp:เพื่อนๆ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไรบ้าง
  5. อย่างไรบ้าง : (QUES) ; what ; Related:how ; Samp:เพื่อนๆ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไรบ้าง
  6. อย่างไรเล่า : (QUES) ; how ; Related:in what way ; Samp:เมื่อเหตุการณ์ผันแปรเช่นนี้ ประชาชนควรจะทำอย่างไรเล่า
  7. ถึงอย่างไรก็ตาม : (CONJ) ; even though ; Syn:อย่างไรก็ดี, อย่างไรก็ตาม, ถึงอย่างไร ; Samp:อย่างไรก็ตาม การเดินทางด้วยรถของเราเองก็ยังดีกว่านั่งรถประจำทางเป็นอันมาก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : อย่างไร, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างไร, more than 5 found, display 1-5
  1. อย่างไร : ว. ใช้ในประโยคคําถาม ถามถึงความเป็นไป ความเป็นอยู่ เช่น คนไข้มีอาการอย่างไร หมู่นี้เป็นอย่างไรบ้าง, ถามถึงวิธีหรือ ความเห็นเป็นต้น เช่น จะทําอย่างไร มีความเห็นอย่างไร; ถ้าใช้ใน ประโยคที่ไม่เป็นคําถาม หมายความว่า จะโดยวิธีใด ๆ ก็ตาม เช่น ถึงอย่างไรเขาก็ไม่มา.
  2. อย่างไรก็ดี, อย่างไรก็ตาม : สัน. ถึงเช่นนั้น, แม้กระนั้น, แต่.
  3. ไฉน ๑ : [ฉะไหฺน] ว. ฉันใด, เช่นไร, อย่างไร, เช่น เป็นไฉน, ทำไม, เหตุใด, เช่น ไฉนจึงไม่มาให้ทันเวลา.
  4. ที่ไหน : น. แห่งใด, แห่งใดแห่งหนึ่ง, แห่งใดก็ตาม, เช่น ไปที่ไหน ก็ได้; คําใช้ในข้อความคาดคะเนว่าคงจะไม่เป็นเช่นนั้น เช่นนี้ มี ความหมายว่า ไฉน, ฉันใด, อย่างไร, เช่น เขาก็เห็นว่าที่ไหนเราจะได้.
  5. กระไร : ว. อะไร เช่น เขาไม่ว่ากระไร, อย่างไร เช่น จะทำกระไรดี, เท่าไร เช่น ถูกปรับเพียง ๑๐๐ บาทก็ไม่กระไรนัก, ทำไม, ไฉน, เช่น ข้าแต่นเรศูรสมเด็จพระบิดาเจ้าข้าเอ่ย กระไรเลยไม่ปรานี. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างไร, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อย่างไร, more than 5 found, display 1-5
  1. อินทริยปโรปริยัตตญาณ : ปรีชาหยั่งรู้ความหย่อนและยิ่งแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย คือรู้ว่า สัตว์พวกไหนมีอินทรีย์คือสัทธาเป็นต้นอ่อน พวกไหนมีอินทรีย์แก่กล้า พวกไหนมีจริตมีอัธยาศัย เป็นต้น อย่างไร ๆ พวกไหนสอนยาก พวกไหนสอนง่าย ดังนี้เป็นต้น (ข้อ ๖ ในทศพลญาณ)
  2. คันธกุฎี : กุฎีอบกลิ่นหอม, ชื่อเรียกพระกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้า เช่น พระคันธกุฎีที่อนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้างถวายที่พระเชตวัน ในนครสาวัตถี เป็นต้น พระกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้าพระองค์อื่นๆ ก็เรียกว่าคันธกุฎีเช่นเดียวกัน (เช่น ขุ.อป.๓๒/๑๘/๘๕; ๑๗๒/๒๗๒; ๓๓/๑๓๑/๒๒๐) อย่างไรก็ตาม คำเรียกที่ประทับของพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันว่าคันธกุฎีนั้น มีใช้แต่ในคัมภีร์ชั้นอรรถกถาลงมา (ไม่มีในพระไตรปิฎก)
  3. จีวรมรดก : จีวรของภิกษุหรือสามเณรผู้ถึงมรณภาพ (มตกจีวร) สงฆ์พึงมอบให้แก่คิลานุปฐาก (ผู้พยาบาลคนไข้) ด้วยญัตติทุติยกรรม อย่างไรก็ตาม อรรถกถาแสดงมติไว้ว่า กรณีเช่นนี้เป็นกรรมไม่สำคัญนัก จะทำด้วยอปโลกนกรรม ก็ควร
  4. ตถาคต : พระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า เป็นคำที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกหรือตรัสถึงพระองค์เอง แปลได้ความหมาย ๘ อย่าง คือ ๑.พระผู้เสด็จมาแล้วอย่างนั้น คือ เสด็จมาทรงบำเพ็ญพุทธจริยา เพื่อประโยชน์แก่ชาวโลก เป็นต้น เหมือนอย่างพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ อย่างไรก็อย่างนั้น ๒.พระผู้เสด็จไปแล้วอย่างนั้น คือทรงทำลายอวิชชาสละปวงกิเลสเสด็จไปเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ อย่างไรก็อย่างนั้น ๓.พระผู้เสด็จมาถึงตถลักษณะ คือ ทรงมีพระญาณหยั่งรู้เข้าถึงลักษณะที่แท้จริงของสิ่งทั้งหลายหรือของธรรมทุกอย่าง๔.พระผู้ตรัสรู้ตถธรรมตามที่มันเป็น คือ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ หรือปฏิจจสมุปบาทอันเป็นธรรมที่จริงแท้แน่นอน ๕.พระผู้ทรงเห็นอย่างนี้ คือ ทรงรู้เท่าทันสรรพอารมณ์ที่ปรากฏแก่หมู่สัตว์ทั้งเทพและมนุษย์ ซึ่งสัตวโลกตลอดถึงเทพถึงพรหมได้ประสบและพากันแสวงหา ทรงเข้าใจสภาพที่แท้จริง ๖.พระผู้ตรัสอย่างนั้น (หรือมีพระวาจาที่แท้จริง) คือ พระดำรัสทั้งปวงนับแต่ตรัสรู้จนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ล้วนเป็นสิ่งแท้จริงถูกต้อง ไม่เป็นอย่างอื่น ๗.พระผู้ทำอย่างนั้น คือ ตรัสอย่างใดทำอย่างนั้น ทำอย่างใด ตรัสอย่างนั้น ๘.พระผู้เป็นเจ้า (อภิภู) คือ ทรงเป็นผู้ใหญ่ยิ่งเหนือกว่าสรรพสัตว์ตลอดถึงพระพรหมที่สูงสุด เป็นผู้เห็นถ่องแท้ ทรงอำนาจ เป็นราชาที่พระราชาทรงบูชา เป็นเทพแห่งเทพ เป็นอินทร์เหนือพระอินทร์ เป็นพรหมเหนือประดาพรหม ไม่มีใครจะอาจวัดหรือจะทดเทียมพระองค์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัสสนะ
  5. ทานกถา : เรื่องทาน, พรรณนาทาน คือการให้ว่าคืออะไร มีคุณอย่างไรเป็นต้น (ข้อ ๑ ในอนุบุพพิกถา)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : อย่างไร, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างไร, more than 5 found, display 1-5
  1. กิญฺจ : อ. ไฉนไม่, อย่างไร, ทำไม
  2. กินฺติ : อ. โดยวิธีใด, อย่างไร, ว่าอย่างไร
  3. กึสุ : อ. แลหรือ, อย่างไร, อย่างไรเล่า
  4. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  5. ยถา : (อัพ. นิบาต) ฉันใด, ประการใด, โดยประการใด, อย่างไร, เป็นอย่างไร, ด้วยประการใด, ควร, สมควร, ตาม, เดิม.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างไร, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อย่างไร, not found

(0.1029 sec)