Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อาฆาตแค้น, อาฆาต, แค้น , then คน, แค้น, อาฆาต, อาฆาตแค้น .

Eng-Thai Lexitron Dict : อาฆาตแค้น, more than 7 found, display 1-7
  1. despiteful : (ADJ) ; เต็มไปด้วยความอาฆาตแค้น (คำโบราณ) ; Syn:spiteful, malicious
  2. vindictive : (ADJ) ; ที่มีใจพยาบาท ; Related:อาฆาต ; Syn:revengeful
  3. vengeance : (N) ; การแก้แค้น ; Related:การล้างแค้น, การอาฆาต, ความพยาบาท ; Syn:revenge, retribution ; Ant:forgiveness, mercy, reconciliation
  4. vengeful : (ADJ) ; ซึ่งอยากแก้แค้น ; Related:ซึ่งคิดแค้น, ซึ่งอาฆาต, ซึ่งผูกใจเจ็บ ; Syn:revengeful, spiteful
  5. maliciously : (ADV) ; อย่างมุ่งร้าย ; Related:อย่างประสงค์ร้าย, อย่างอาฆาตแค้น, อย่างผูกพยาบาท
  6. rancor : (N) ; ความขมขื่น ; Related:ความเคียดแค้น, ความแค้นเคือง, ความพยาบาท, ความอาฆาต ; Syn:bitterness, resentment
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : อาฆาตแค้น, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อาฆาตแค้น, more than 7 found, display 1-7
  1. อาฆาตแค้น : (V) ; feud ; Related:spite, look upon with hatred ; Syn:อาฆาต, พยาบาท ; Def:ผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น ; Samp:เขาแสดงความมีใจกว้างขวาง โดยไม่ถือสา หรืออาฆาตแค้นฝ่ายตรงข้ามแต่อย่างใด เมื่อได้อยู่ในฐานะเจ้าพ่อผู้ยิ่งใหญ่
  2. อาฆาต : (V) ; feud ; Related:spite, look upon with hatred ; Syn:อาฆาตแค้น, พยาบาท ; Def:ผูกใจเจ็บ และอยากแก้แค้น ; Samp:ศาสนาสอนให้คนมีจิตใจเมตตาต่อกัน ไม่ผูกพยาบาท อาฆาต จองเวรต่อกัน
  3. แค้น : (V) ; be angry ; Related:be furious, rankle, be enraged ; Syn:โกรธ, โกรธแค้น, โมโห ; Def:โกรธเจ็บใจอยู่ไม่หาย ; Samp:ชาวบ้านแค้นพ่อค้าแม่ค้ามากที่ฉวยโอกาสขึ้นราคาสินค้าในช่วงนี้
  4. อาฆาตมาดร้าย : (V) ; have a great malice ; Syn:อาฆาตแค้น, พยาบาท ; Def:พยาบาทอย่างรุนแรง ; Samp:เขาไม่เคยอาฆาตมาดร้าย หรือขึ้งโกรธเลย แม้ว่าจะถูกวิพากษ์วิจารณ์จากสื่อสารมวลชนอย่างหนัก
  5. เคืองแค้น : (V) ; be offended ; Related:harbor malice against, habour/bear/feel resentment, be angry, flare up, rage, be indignant ; Syn:แค้นเคือง, อาฆาต, โกรธแค้น ; Def:ไม่พอใจเพราะทำไม่ดีต่อตนหรือผู้ใกล้ชิด ; Samp:คุณจุ๋มต้องตกระกำลำบากทั้งยามแต่งยามร้าง จะไม่ให้เธอเคืองแค้นกระไรได้
  6. คั่งแค้น : (V) ; be angry ; Related:smoulder, rage, rankle, be indignant with, bear/harbour resentment against ; Syn:แค้น ; Def:โกรธอัดอั้นอยู่ในใจ ; Samp:บรรดาแกนนำพรรคลงมาถึงสมาชิกล้วนแต่แสดงความอึดอัดคับข้องกระทั่งคั่งแค้นต่อปฏิบัติการของเขา
  7. พยาบาท : (V) ; be vengeful ; Related:be vindictive, harbour thought of revenge/of vindication ; Syn:อาฆาต ; Def:ผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ปองร้าย ; Samp:อิทธิพลของศาสนาทำให้คนมีจิตใจเมตตา ไม่พยาบาทอาฆาตต่อกัน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : อาฆาตแค้น, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อาฆาตแค้น, more than 5 found, display 1-5
  1. แค้น : ก. โกรธเจ็บใจอยู่ไม่หาย เช่น แค้นใจ แค้นเคือง.
  2. อาฆาต : [คาด] ก. ผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, พยาบาท. (ป., ส.).
  3. อาฆาตนะ : [ตะนะ] น. การฆ่า, การตี; สถานที่ฆ่าคน. (ป., ส.).
  4. อาฆาตมาดร้าย : ก. พยาบาทมุ่งจะทำร้ายให้ได้.
  5. แก้แค้น : ก. ทําตอบด้วยความแค้นหรือเพื่อให้หายแค้น.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อาฆาตแค้น, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อาฆาตแค้น, more than 5 found, display 1-5
  1. สุภัททะ วุฒบรรพชิต : “พระสุภัททะผู้บวชเมื่อแก่” ซึ่งเป็นต้นเหตุแห่งการปรารภที่จะทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ก่อนบวช เป็นช่างตัดผมในเมืองอาตุมา มีบุตรชาย ๒ คน เมื่อบวชแล้วคราวหนึ่งได้ข่าวว่าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยสงฆ์หมู่ใหญ่จะเสด็จมายังเมืองอาตุมา จึงให้บุตรทั้ง ๒ เอาเครื่องมือตัดผมออกไปเที่ยวขอตัดผมตามบ้านเรือนทุกแห่ง แลกเอาเครื่องปรุงยาคูมาได้มากมาย แล้วบัญชาการให้ผู้คนจัดเตรียมข้าวยาคูไว้เป็นอันมาก เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมาถึง ก็นำเอาข้าวยาคูนั้นเข้าไปถวาย พระพุทธเจ้าตรัสถาม ทรงทราบความว่าพระสุภัททะได้ข้าวนั้นมาอย่างไรแล้ว ไม่ทรงรับและทรงติเตียน แล้วทรงบัญญัติสิกขาบท ๒ ข้อ คือ บรรพชิตไม่พึงชักชวนคนทำในสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ และภิกษุผู้เคยเป็นช่างกัลบกไม่พึงเก็บรักษาเครื่องตัดโกนผมไว้ประจำตัว จากการที่ได้ถูกติเตียนและเสียของเสียหน้าเสียใจ ในเหตุการณ์ครั้งนั้น พระสุภัททะก็ได้ผูกอาฆาตไว้ ต่อมา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้วได้ ๗ วัน พระสุภัททะร่วมอยู่ในคณะของพระมหากัสสปเถระ ซึ่งกำลังเดินทางจากเมืองปาวาสู่เมืองกุสินารา ระหว่างทางนั้น คณะได้ทราบข่าวพุทธปรินิพพานจากอาชีวกผู้หนึ่ง ภิกษุทั้งหลายที่ยังไม่สิ้นราคะ (คือพระปุถชน โสดาบัน และสกทาคามี) พากันร้องไห้คร่ำครวญเป็นอันมาก ในขณะนั้นเอง พระสุภัททะวุฒบรรพชิต ก็ร้องห้ามขึ้นว่า “อย่าเลย ท่านผู้มีอายุ พวกท่านอย่าเศร้าโศก อย่าร่ำไห้ไปเลย พวกเราพ้นดีแล้ว พระมหาสมณะนั้นคอยเบียดเบียนพวกเราว่าสิ่งนี้ควรแก่เธอ สิ่งนี้ไม่ควรแก่เธอ บัดนี้พวกเราปรารถนาสิ่งใด ก็จักกระทำสิ่งนั้น” พระมหากัสสปเถระได้ฟังแล้วเกิดธรรมสังเวช ดำริว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง ๗ วัน ก็ยังเกิดเสี้ยนหนามขึ้นแล้วในพระศาสนา หากต่อไปคนชั่วได้พวกพ้องมีกำลังเติบกล้าขึ้น ก็จะทำพระศาสนาให้เสื่อมถอย ดังนั้น หลังจากเสร็จงานถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแล้ว ท่านจึงได้ยกถ้อยคำของสุภัททะวุฒบรรพชิต นี้ขึ้นเป็นข้อปรารภ ชักชวนพระเถระทั้งหลายร่วมกันทำสังคายนาครั้งแรก
  2. ไตรวัฏ : วัฏฏะ ๓, วงวน ๓ หรือวงจร ๓ ส่วนของปฏิจจสมุปบาท หมุนเวียนสืบทอดต่อๆ กันไป ทำให้มีการเวียนว่ายตายเกิด หรือวงจรแห่งทุกข์ ได้แก่ กิเลส กรรม และวิบาก (เรียกเต็มว่า ๑.กิเลสวัฏ ประกอบด้วย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ๒.กรรมวัฏ ประกอบด้วย สังขาร ภพ ๓.วิปากวัฏ ประกอบด้วย วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ชาติ ชรามรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส) คือ กิเลสเป็นเหตุให้ทำกรรม เมื่อทำกรรมก็ได้รับวิบากคือผลของกรรมนั้น อันเป็นปัจจัยให้เกิดกิเลสแล้วทำกรรมหมุนเวียนต่อไปอีก เช่น เกิดกิเลสอยากได้ของเขา จึงทำกรรมด้วยการไปลักของเขามา ประสบวิบากคือได้ของนั้นมาเสพเสวยเกิดสุข เวทนา ทำให้มีกิเลสเหิมใจอยากได้รุนแรงและมากยิ่งขึ้นจึงยิ่งทำกรรมมากขึ้น หรือในทางตรงข้ามถูกขัดขวาง ได้รับทุกขเวทนาเป็นวิบาก ทำให้เกิดกิเลส คือโทสะแค้นเคือง แล้วพยายามทำกรรมคือประทุษร้ายเขา เมื่อเป็นอยู่อย่างนี้ วงจรจะหมุนเวียนต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด
  3. ไตรวัฏฏ์ : วัฏฏะ ๓, วงวน ๓ หรือวงจร ๓ ส่วนของปฏิจจสมุปบาท หมุนเวียนสืบทอดต่อๆ กันไป ทำให้มีการเวียนว่ายตายเกิด หรือวงจรแห่งทุกข์ ได้แก่ กิเลส กรรม และวิบาก (เรียกเต็มว่า ๑.กิเลสวัฏ ประกอบด้วย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ๒.กรรมวัฏ ประกอบด้วย สังขาร ภพ ๓.วิปากวัฏ ประกอบด้วย วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ชาติ ชรามรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส) คือ กิเลสเป็นเหตุให้ทำกรรม เมื่อทำกรรมก็ได้รับวิบากคือผลของกรรมนั้น อันเป็นปัจจัยให้เกิดกิเลสแล้วทำกรรมหมุนเวียนต่อไปอีก เช่น เกิดกิเลสอยากได้ของเขา จึงทำกรรมด้วยการไปลักของเขามา ประสบวิบากคือได้ของนั้นมาเสพเสวยเกิดสุข เวทนา ทำให้มีกิเลสเหิมใจอยากได้รุนแรงและมากยิ่งขึ้นจึงยิ่งทำกรรมมากขึ้น หรือในทางตรงข้ามถูกขัดขวาง ได้รับทุกขเวทนาเป็นวิบาก ทำให้เกิดกิเลส คือโทสะแค้นเคือง แล้วพยายามทำกรรมคือประทุษร้ายเขา เมื่อเป็นอยู่อย่างนี้ วงจรจะหมุนเวียนต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด
  4. ปฏิฆะ : ความขัดใจ, แค้นเคือง, ความขึ้งเคียด ความกระทบกระทั่งแห่งจิต ได้แก่ ความที่จิตหงุดหงิดด้วยอำนาจโทสะ
  5. พยาบาท : ความขัดแค้นเคืองใจ, ความเจ็บใจ, ความคิดร้าย, ตรงข้ามกับเมตตา; ในภาษาไทยหมายถึง ผูกใจเจ็บและคิดแก้แค้น
  6. Budhism Thai-Thai Dict : อาฆาตแค้น, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : อาฆาตแค้น, more than 5 found, display 1-5
  1. อาฆาต : ป. โกรธ, ฉุนเฉียว; กระทบกระทั่ง
  2. อาฆาฏอาฆาต : (วิ.) โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, จำนงภัย, ปองร้าย, จองเวร, เบียดเบียน, พยาบาท
  3. องฺฆาต : (วิ.) โกรธ, ขึ้งเครียด, กระทบ.เบียดเบียน.อาฆาต ศัพท์ แปลง อา เป็นนิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ.
  4. เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  5. เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อาฆาตแค้น, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อาฆาตแค้น, more than 5 found, display 1-5
  1. กวน, คน : ขชติ [ก.]
  2. กระทบกระทั่ง : อภิสชฺชติ [ก.]; อาฆาโต [ป.]
  3. จน (คน) : กปโณ
  4. คนกินเดน : วิฆาสาโท, ทมโก
  5. คนกิเลสหนา : ปุถุชฺชนา
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อาฆาตแค้น, more results...

(0.4240 sec)