Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อาชา , then อะชะ, อาช, อาชา .

Eng-Thai Lexitron Dict : อาชา, 1 found, display 1-1
  1. horse : (N) ; ม้า (มีชื่อในภาษาละตินว่า Equus caballus) ; Related:อาชา

Thai-Eng Lexitron Dict : อาชา, 4 found, display 1-4
  1. อาชา : (N) ; horse ; Syn:ม้า ; Unit:ตัว
  2. ม้า : (N) ; horse ; Related:mare, steed, stallion, pony, colt, Equus caballus ; Syn:อาชา, พาชี, อัศว, อัสดร, วลาหก, สินธพ, แสะ, หัย ; Def:สัตว์สี่เท้า มีกีบทึบ แผงคอยาว มนุษย์เลี้ยงไว้เป็นพาหนะขับขี่และเทียมรถ ; Samp:รถยนต์ช่วยลดปริมาณการใช้ม้าและเกวียนเป็นพาหนะลงไปได้มาก ; Unit:ตัว
  3. ม้า : (N) ; horse ; Related:mare, steed, stallion, pony, colt, Equus caballus ; Syn:อาชา, พาชี, อัศว, อัสดร, วลาหก, สินธพ, แสะ, มัย ; Def:สัตว์สี่เท้า มีกีบทึบ แผงคอยาว มนุษย์เลี้ยงไว้เป็นพาหนะขับขี่และเทียมรถ ; Samp:รถยนต์ช่วยลดปริมาณการใช้ม้าและเกวียนเป็นพาหนะลงไปได้มาก ; Unit:ตัว
  4. ปากคอเราะราย : (ADJ) ; caustic ; Related:tongue-lashing ; Syn:ปากเปราะเราะราย ; Def:ชอบพูดจาชวนหาเรื่องไม่เลือกหน้า ; Samp:คุณกัญจนา ศิลปอาชาต่อว่า ส.ส. ชายปากคอเราะรายอย่างเผ็ดร้อน

Royal Institute Thai-Thai Dict : อาชา, 7 found, display 1-7
  1. อาชา : น. ม้า.
  2. อาชานะ, อาชานิ : น. กําเนิด, ตระกูล. (ส.).
  3. กะระตะ : (กลอน) ก. ขับม้าให้วิ่ง เช่น กะระตะอาชาชิงชัย. (อิเหนา). (ช. g้rtak).
  4. อาชาไนย : ว. กําเนิดดี, พันธุ์หรือตระกูลดี; รู้รวดเร็ว, ฝึกหัดมาดีแล้ว, ถ้าเป็น ม้าที่ฝึกหัดมาดีแล้ว เรียก ม้าอาชาไนย, ถ้าเป็นคนที่ฝึกหัดมาดีแล้ว เรียกว่า บุรุษอาชาไนย. (ป. อาชาเนยฺย; ส. อาชาเนย).
  5. อชะ : [อะชะ] น. แพะ. (ป., ส.).
  6. ทศพล : น. ผู้มีกําลัง ๑๐ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า. ทศพิธราชธรรม น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็น หลักธรรมประจําพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน - การให้ ๒. ศีล - การรักษากายวาจา ให้เรียบร้อย ๓. บริจาค - ความเสียสละ ๔. อาชชวะ - ความซื่อตรง ๕. มัททวะ - ความอ่อนโยน ๖. ตบะ - การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ - ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา - ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ - ความ อดทน ๑๐. อวิโรธนะ - ความไม่คลาดจากธรรม.
  7. ราชธรรม : น. จริยวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินพึงประพฤติ, คุณธรรมของ ผู้ปกครองบ้านเมือง, มี ๑๐ ประการ เรียกว่า ทศพิธราชธรรม ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–ความประพฤติดีงาม ๓. ปริจจาคะ–การบริจาค, ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตปะ–ความเพียรเครื่องเผาผลาญกิเลสตัณหา ๗. อักโกธะ–ความ ไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดธรรม. (ส.).

Budhism Thai-Thai Dict : อาชา, 1 found, display 1-1
  1. ราชธรรม : ธรรมสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน, คุณสมบัติของนักปกครองที่ดี สามารถปกครองแผ่นดินโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดี มี ๑๐ ประการ (นิยมเรียกว่า ทศพิธราชธรรม) คือ ๑.ทาน การให้ทรัพย์สินสิ่งของ ๒.ศีล ประพฤติดีงาม ๓.ปริจจาคะ ความเสียสละ ๔.อาชชวะ ความซื่อตรง ๕.มัททวะ ความอ่อนโยน ๖.ตบะ ความทรงเผากิเลสตัณหา ไม่หมกมุ่นในความสุขสำราญ ๗.อักโกธะ ความไม่กริ้วโกรธ ๘.อวิหิงสา ความไม่ข่มเหงเบียดเบียน ๙.ขันติ ความอดทนเข็มแข็งไม่ท้อถอย ๑๐.อวิโรธนะ ความไม่คลาดธรรม

ETipitaka Pali-Thai Dict : อาชา, 5 found, display 1-5
  1. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  2. อาชานาติ : ก. รู้, เข้าใจ, ทราบ, ตระหนัก
  3. อาชายติ : ก. เกิดอีก
  4. สมญฺญา : (อิต.) นาม, ชื่อ, สมัญญา, สมญา, สมเญศ. วิ. สมฺมา อาชานาติ สมํ ชานาติ เอตายาติ สมญฺญา สํปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ.
  5. อาชิ : (อิต.) สงคราม. วิ.อชติ เอเตนนาสนฺติอาชิ.อชฺคมเน, ณิ.ส.อาชิ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อาชา, 2 found, display 1-2
  1. กฎหมายอาญา : อาชชยํ
  2. การรบ, ศึก : สงฺคาโม, สมฺปหาโร, สมรํ, สมรํ, อาโยธนํ, รโณ, อาชิ, สํยุโค, อาหโว, ยุทฺธํ

(0.1445 sec)