อร ๑ : [อะระ] น. กํา, ซี่ล้อรถหรือเกวียน. (ป., ส.).
อรดี, อรติ : [อะระ] น. ความไม่ยินดี, ความไม่พอใจ, อราดี หรือ อราติ ก็ใช้. (ป., ส.).
อรหะ : [อะระ] ว. ควร, สมควร. (ป., ส.).
อรหัง : [อะระ, ออระ] น. พระพุทธเจ้า; พระอรหันต์. (ป. อรหํ).
อรัญญิก : น. ป่า, บริเวณป่า, โบราณเขียนเป็น อรญญิก หรือ อไรญิก ก็มี เช่น ในกลางอรญญิก, เมืองสุโขทัยนี้มีอไรญิก. (จารึกสยาม), (โบ) วัดอรัญญิก เช่น ไปสูดญัดกฐินเถิงอไรญิกพู้น. (จารึกสยาม). ว. ที่เกี่ยวกับป่า เช่น อรัญญิกาวาส. (ป. อาร?ฺ??ก ว่า เกี่ยวกับป่า).
อารัญญิก, อารัณยกะ ๑ : [รันยิก, รันยะกะ] ว. เกี่ยวกับป่า, เกิดในป่า, มีในป่า. (ป. อาร?ฺ??ก; ส. อารณฺยก).
อารัญ, อารัณย์ : ว. อยู่ในป่า, มีในป่า. (ป. อาร?ฺ?; ส. อารณฺย).
อารา : (อิต.) เหล็กหมาด, เหล็กเจาะ, เหล็กแหลม, สว่าน, เข็ม.อรฺคมเน, โณ, อิตฺถิยํอา.อภิฯลงอปัจ.
อาร : (ปุ.) ซี่, ซี่จักร, กำ(ซี่ของล้อรถหรือเกวียน).ดูอรด้วย.
อารวอาราว : (ปุ.) เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงมี่ (เสียงอึกทึก).เสียงอึงมี่(เสียงอึกทึกระงมไป).อาปุพฺโพ, รุสทฺเท.โณ, ยุ.ส.อารว.
อารุ : ป., นป; สุกร; วัว, ควาย
อารู : ป. สีแดงหรือสีเหลือง
สหมฺปติ : (ปุ.) สหัมบดี ชื่อท้าวมหาพรหมผู้มาทูลอารธนาให้พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม, ท้าวสหัมบดี, ท้าวสหัมบดีพรหม.