Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เพรียง , then พรยง, เพรียง .

Eng-Thai Lexitron Dict : เพรียง, 8 found, display 1-8
  1. barnacle : (N) ; เพรียงที่เกาะตามวัตถุใต้น้ำ
  2. unison : (N) ; ความพร้อมเพรียงกัน ; Related:ความสอดคล้องกัน, ความเข้ากันได้ ; Syn:unity ; Ant:oppisite
  3. united : (ADJ) ; ซึ่งพร้อมเพรียงกัน ; Related:สอดคล้องกัน ; Syn:join ; Ant:separated
  4. discordant : (ADJ) ; ซึ่งไม่สอดคล้องกัน ; Related:ซึ่งไม่พร้อมเพรียงกัน, ซึ่งขัดแย้งกัน ; Syn:contradictory, adversative ; Ant:agreeable, similar
  5. discordantly : (ADV) ; อย่างไม่สอดคล้องกัน ; Related:อย่างไม่พร้อมเพรียงกัน
  6. incoordinate : (ADJ) ; ซึ่งไม่ประสานกัน ; Related:ซึ่งไม่ร่วมมือกัน, ซึ่งไม่พร้อมเพรียงกัน ; Ant:coordinate
  7. unanimous : (ADJ) ; เป็นเอกฉันท์ ; Related:ไม่มีข้อโต้แย้ง, มีน้ำหนึ่งใจเดียวกัน, มีความเห็นพร้อมเพรียงกัน ; Syn:united
  8. unitary : (ADJ) ; หนึ่งเดียว ; Related:ซึ่งไม่สามารถแบ่งแยกได้, ซึ่งพร้อมเพรียงกัน

Thai-Eng Lexitron Dict : เพรียง, more than 7 found, display 1-7
  1. ความพร้อมเพรียง : (N) ; unanimity ; Related:accord, concord, unison, unity, harmony ; Syn:ความพร้อมเพรียงกัน ; Samp:ทหารมาซ้อมในเรื่องความพร้อมเพรียงที่จะต้องไปร่วมสวนสนาม
  2. ความพร้อมเพรียงกัน : (N) ; harmony ; Related:esprit de corps, concord, cooperation, rapport ; Syn:ความสามัคคี, การร่วมแรงร่วมใจ ; Samp:เมืองไทยดำรงมั่นคงมาช้านานแล้วเพราะความพร้อมเพรียงกันของคนในชาติ
  3. โดยพร้อมเพรียง : (ADV) ; together ; Syn:พร้อมกัน ; Samp:ประชาชนมารวมกันโดยพร้อมเพรียงเพื่อถวายพระพรแด่ในหลวง
  4. พร้อมเพรียง : (ADV) ; all together ; Related:completely, in unison, in harmony ; Syn:ครบถ้วน ; Samp:การประชุมประจำเดือนนี้จะมีผู้หลักผู้ใหญ่ทุกฝ่ายมาร่วมกันพร้อมเพรียงซึ่งคงได้ข้อสรุปว่าจะตกลงกันได้หรือไม่ได้
  5. ความสมานฉันท์ : (N) ; agreement ; Related:conformity ; Syn:ความสามัคคี, ความพร้อมเพรียง ; Def:ความพอใจร่วมกัน, ความเห็นพ้องกัน ; Samp:เขาเป็นคนที่สร้างความสมานฉันท์ให้กับคนกลุ่มต่างๆ ภายในชาติ
  6. ความสามัคคี : (N) ; unity ; Related:harmony ; Syn:ความพร้อมเพรียง, ความปรองดอง ; Ant:ความแตกแยก ; Samp:การโต้เถียงทะเลาะกันทำให้แตกความสามัคคีทำให้เกิดความสับสนวุ่นวาย
  7. พร้อมใจ : (V) ; conjoin ; Related:unite, join together ; Syn:ร่วมใจ, ร่วมกัน, พร้อมเพรียง ; Def:เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ; Samp:ประชาชนพร้อมใจกันบำเพ็ญตนเพื่อสาธารณะประโยชน์เพื่อถวายแก่ในหลวง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เพรียง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เพรียง, more than 5 found, display 1-5
  1. เพรียง : [เพฺรียง] น. ส่วนร่างกายที่นูนอยู่หลังหู, มักใช้ว่า เพรียงหู; เรียก ผิวหนังที่ขรุขระอย่างหน้าออกฝีว่ามีลักษณะเป็นเพรียง. ว. พร้อม, มักใช้คู่กันว่า พร้อมเพรียง.
  2. เพรียง : [เพฺรียง] น. ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังประเภทสัตว์ขาปล้อง มีหลายชนิดในอันดับ Thoracica เปลือกหุ้มตัวมี ๖ แผ่น เรียงซ้อน กัน รูปร่างของเปลือกมีหลายแบบ เช่น รูปกรวยควํ่า มีปากเปิดด้าน บน เปลือกบริเวณปากบางและคม เกาะอยู่ตามหินและวัสดุอื่น ๆ ที่นํ้าท่วมถึง เช่น ชนิด Balanus amphitrite ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ที่ฐานประมาณ ๑ เซนติเมตร.
  3. เพรียง : [เพฺรียง] น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ในวงศ์ Teredinidae ลําตัวยาวอ่อนนุ่ม เปลือกเล็กมากคลุมเฉพาะด้านหัว เจาะกินเนื้อไม้ มีหลายชนิด เช่น ชนิด Lyrodus pedicellatus.
  4. เพรียงคอห่าน : ดู สนับ๒สนับทึบ.
  5. เพรียงเมือง : ก. แทรกแซงบ่อนจิตใจชาวเมือง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เพรียง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เพรียง, 9 found, display 1-9
  1. ธรรมสามัคคี : ความพร้อมเพรียงขององค์ธรรม, องค์ธรรมทั้งหลายที่เกี่ยวข้องทุกอย่างทำกิจหน้าที่ของแต่ละอย่างๆ พร้อมเพรียงและประสานสอดคล้องกัน ให้สำเร็จผลที่เป็นจุดหมาย เช่น ในการบรรลุมรรคผล เป็นต้น
  2. เผดียง : บอกแจ้งให้รู้, บอกนิมนต์, บอกกล่าวหรือประกาศเชื้อเชิญเพื่อให้ร่วมทำกิจโดยพร้อมเพรียงกัน; ประเดียง ก็ว่า ดู ญัตติ
  3. สมานสังวาสสีมา : แดนมีสังวาสเสมอกัน, เขตที่กำหนดความพร้อมเพรียงและสิทธิในการเข้าอุโบสถปวารณาและสังฆกรรมด้วยกัน
  4. สังฆสามัคคี : ความพร้อมเพรียงแห่งสงฆ์
  5. สามัคคีอุโบสถ : อุโบสถที่ทำขึ้นเป็นกรณีพิเศษเมื่อสงฆ์ ๒ ฝ่ายซึ่งแตกกันกลับมาปรองดองสมานกันเข้าได้สามัคคีอุโบสถไม่กำหนดด้วยวันที่ตายตัว สงฆ์พร้อมเพรียงกันเมื่อใด ก็ทำเมื่อนั้น เรียกวันนั้นว่า วันสามัคคี
  6. สาราณียธรรม : ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง, ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน ทำให้มีความเคารพกัน ช่วยเหลือกัน และสามัคคีพร้อมเพรียงกันมี ๖ อย่างคือ ๑.ตั้งกายกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนภิกษุสามเณร ๒.ตั้งวจีกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนภิกษุสามเณร ๓.ตั้งมโนกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนภิกษุสามเณร ๔.แบ่งปันลาภที่ได้มาโดยชอบธรรม ๕.รักษาศีลบริสุทธิ์เสมอกับเพื่อนภิกษุสามเณร (มีสีลสามัญญตา) ๖.มีความเห็นร่วมกันได้กับภิกษุสามเณรอื่น ๆ (มีทิฏฐิสามัญญตา); สารณียธรรม ก็เขียน
  7. สีมา : เขตกำหนดความพร้อมเพรียงของสงฆ์, เขตชุมนุมของสงฆ์, เขตที่สงฆ์ตกลงไว้สำหรับภิกษุทั้งหลายที่อยู่ภายในเขตนั้นจะต้องทำสังฆกรรมร่วมกัน แบ่งเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ ๑.พัทธสีมา แดนที่ผูก ได้แก่ เขตที่สงฆ์กำหนดขึ้นเอง ๒.อพัทธสีมา แดนที่ไม่ได้ผูก ได้แก่เขตที่ทางบ้านเมืองกำหนดไว้แล้วตามปกติของเขา หรือที่มีอย่างอื่นในทางธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนด สงฆ์ถือเอาตามกำหนดนั้นไม่วางกำหนดขึ้นเองใหม่
  8. อปริหานิยธรรม : ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม, ธรรมที่ทำให้ไม่เสื่อม เป็นไปเพื่อความเจริญฝ่ายเดียว มี ๗ อย่าง ที่ตรัสสำหรับภิกษุ (ภิกขุอปริหาริยธรรม) ยกมาแสดงหมวดหนึ่ง ดังนี้ ๑) หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ ๒) เมื่อประชุมก็พร้อมเพรียงกันประชุม เมื่อเลิกประชุมก็พร้อมเพรียงกันเลิก และพร้อมเพรียงช่วยกันทำกิจที่สงฆ์จะต้องทำ ๓) ไม่บัญญัติสิ่งที่พระพุทธเจ้าไม่บัญญัติขึ้น ไม่ถอนสิ่งที่พระองค์บัญญัติไว้แล้ว สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบทตามที่พระองค์ทรงบัญญัติไว้ ๔) ภิกษุเหล่าใด เป็นผู้ใหญ่เป็นประธานในสงฆ์ เคารพนับถือภิกษุเหล่านั้น เชื่อฟังถ้อยคำของท่าน ๕) ไม่ลุอำนาจแก่ความอยากที่เกิดขึ้น ๖) ยินดีในเสนาสนะป่า ๗) ตั้งในอยู่ว่า เพื่อนภิกษุสามเณรซึ่งเป็นผู้มีศีล ซึ่งยังไม่มาสู่อาวาส ขอให้มา ที่มาแล้วขอให้อยู่เป็นสุข
  9. อุโบสถ : 1) การสวดปาฏิโมกข์ของพระสงฆ์ทุกกึ่งเดือน เป็นเครื่องซักซ้อมตรวจสอบความบริสุทธิ์ทางวินัยของภิกษุทั้งหลาย และทั้งเป็นเครื่องแสดงความพร้อมเพรียงของสงฆ์ด้วย อุโบสถมีชื่อเรียกย่อยออกไปหลายอย่าง การทำอุโบสถจะมีการสวดปาฏิโมกข์ได้ต่อเมื่อมีภิกษุครบองค์สงฆ์จตุรวรรค คือ ๔ รูป ขึ้นไป ถ้าสงฆ์ครบองค์กำหนดเช่นนี้ทำอุโบสถ เรียกว่า สังฆอุโบสถ แต่ถ้ามีภิกษุอยู่เพียง ๒ หรือ ๓ รูป เป็นเพียงคณะท่านให้บอกความบริสุทธิ์แก่กันและกันแทนการสวดปาฏิโมกข์ เรียกอุโบสถนี้ว่า คณอุโบสถ หรือ ปาริสุทธิอุโบสถ ถ้ามีภิกษุอยู่ในวัดรูปเดียว ท่านให้ทำเพียงอธิษฐานคือตั้งใจกำหนดจิตว่าวันนี้เป็นอุโบสถของเรา (อชฺช เม อุโปสโถ) อุโบสถที่ทำอย่างนี้ เรียกว่า ปุคคลอุโบสถ หรือ อธิษฐานอุโบสถ; อุโบสถที่ทำในวันแรม ๑๔ ค่ำ เรียกว่า จาตุทสิก ทำในวันขึ้นหรือแรม ๑๕ ค่ำ เรียกว่า ปัณณรสิก ทำในวันสามัคคี เรียกว่า สามัคคีอุโบสถ 2) การอยู่จำ, การรักษาศีล ๘ และบำเพ็ญข้อปฏิบัติอย่างอื่นที่สมควรมีฟังพระธรรมเทศนาเป็นต้นของคฤหัสถ์ ในวันขึ้นและแรม ๘ ค่ำ วันจันทร์เพ็ญและวันจันทร์ดับ 3) วันอุโบสถสำหรับพระสงฆ์ คือ วันจันทร์เพ็ญ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ) และวันจันทร์ดับ (แรม ๑๕ ค่ำ หรือ ๑๔ ค่ำ เมื่อเดือนขาด), สำหรับคฤหัสถ์ คือ วันพระ ได้แก วันขึ้นและวันแรม ๘ ค่ำ วันจันทร์เพ็ญ และวันจันทร์ดับ 4) สถานที่สงฆ์ทำสังฆกรรม เรียกตามศัพท์ว่า อุโปสถาคารหรืออุโปสถัคคะ, ไทยมักตัดเรียกว่าโบสถ์

ETipitaka Pali-Thai Dict : เพรียง, more than 5 found, display 1-5
  1. กายสมงฺคี : ค. มีกายพร้อมเพรียงกัน, อันพรั่งพร้อมด้วยกาย
  2. การกสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์ผู้ทำ, สงฆ์ผู้ทำกิจทาง พระศาสนา, การกสงฆ์. สงฆ์มีจำนวน ต่าง ๆ กัน ประชุมพร้อมเพรียงกันทำ การต่าง ๆ มีสังคายนาเป็นต้น เรียกว่า การกสงฆ์.
  3. จิตฺตสโมธาน : นป. ความรวมลงพร้อมแห่งจิต, ความพร้อมเพรียงแห่งจิต, ความแน่วแน่แห่งจิต
  4. สมคฺคี : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ. อิปัจ.
  5. สมคฺต : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคล ผู้พร้อมเพรียงกัน, ฯลฯ. สม+อา+คมฺ คติยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ รัสสะ ซ้อน ค.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เพรียง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เพรียง, 2 found, display 1-2
  1. ความพร้อมเพรียง : สามคฺคี
  2. เรื่องความพร้อมเพรียง : สามคฺคีกถา

(0.1214 sec)