Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรา , then รา, เร, เรา .

Eng-Thai Lexitron Dict : เรา, more than 7 found, display 1-7
  1. us : (PRON) ; เรา ; Related:พวกเรา
  2. All work and no play makes Jack a dull boy : (IDM) ; เราควรพักผ่อนพอๆ กับทำงาน
  3. ourself : (PRON) ; ตัวเราเอง ; Related:ของเราเอง
  4. ourselves : (PRON) ; ตัวเราเอง ; Related:ของเราเอง
  5. upcast : (N) ; สิ่งที่เราโยนหรือเหวี่ยงขึ้น ; Related:สิ่งที่เราขว้างขึ้น
  6. up to one : (IDM) ; ขึ้นกับตัวเรา ; Related:แล้วแต่ใจเรา
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : เรา, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เรา, more than 7 found, display 1-7
  1. เรา : (PRON) ; you ; Def:สรรพนามบุรุษที่ 2 ใช้แทนชื่อผู้ที่เราพูดด้วย ; Samp:เราน่ะ เรียนอยู่ชั้นไหนแล้ว
  2. เรา : (PRON) ; I ; Def:สรรพนามบุรุษที่ 1 แทนผู้พูด ; Samp:เราคิดว่าอาจารย์ไม่น่าจะว่างนะ
  3. เรา : (PRON) ; we ; Def:สรรพนามบุรุษที่ 1ใช้แทนชื่อคนหลายคนซึ่งรวมทั้งผู้พูดด้วย ; Samp:เรายังไม่ทราบแน่ชัดว่าบทเรียนต่างๆ ควรมีลำดับอย่างไร
  4. คนเรา : (N) ; human ; Related:man, person, people ; Syn:มนุษย์เรา ; Samp:คนเราต้องดิ้นรนต่อสู้ ชีวิตจึงจะประสบความสำเร็จ ; Unit:คน
  5. ถือเขาถือเรา : (V) ; discriminate ; Related:distinguish, be a partisan, separate ; Syn:ถือพวก, ถือพวกถือเหล่า, ถือพรรคถือพวก, ถือพวกถือพ้อง, แยกพวก, ถือเราถือเขา, แบ่งพรรคแบ่งพวก ; Def:ถือว่าเป็นคนละพวก ; Samp:มัวถือเขาถือเรากันอยู่อย่างนี้จะสามัคคีกันได้อย่างไร
  6. ตัวเรา : (PRON) ; ourselves ; Related:oneself, body, self ; Def:คำใช้เรียกแทนตนเอง, ตัวของเราเอง ; Samp:เรามีเชื้อบ้าอยู่ในตัวเราทุกคน ; Unit:คน
  7. ตัวเรา : (PRON) ; ourselves ; Related:oneself, body, self ; Def:คำใช้เรียกแทนตนเอง, ตัวของเราเอง ; Samp:เรามีเชื้อบ้าอยู่ในตัวเราทุกคน ; Unit:คน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เรา, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เรา, more than 5 found, display 1-5
  1. เรา : สรรพนามบุรุษที่ ๑ เป็นคำแทนตัวผู้พูด จะเป็นคนเดียวหรือหลายคน ก็ได้ ถ้าผู้พูดเป็นคนคนเดียว อาจพูดแทนคนอื่น ๆ รวมทั้งตัวเองด้วย เช่น เราทุกคนเป็นคนไทย หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะเสมอกัน เช่น เรามีความเห็นอย่างนี้ เธอมีความเห็นอย่างไร หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะ ต่ำกว่า เช่น อธิบดีพูดกับนักการว่า ปีนี้เราจะขึ้นเงินเดือนให้ ๒ ขั้น, สรรพนามบุรุษที่ ๒ เป็นคำใช้สำหรับผู้มีอำนาจหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย เช่น เจ้าหน้าที่ถามผู้ต้องหาว่า เราจะรับสารภาพไหม.
  2. กันเขากันเรา : (ปาก) ว. พวกเขาพวกเรา.
  3. ถือเขาถือเรา : ก. ถือว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเรา ถือเขา ก็ว่า.
  4. ถือเราถือเขา : ก. ถือว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเขา ถือเรา ก็ว่า.
  5. รื้อแต่หลังคาเขา หลังคาเราไม่รื้อ : (สํา) ก. คิดแต่จะเอาของผู้อื่นมาใช้ ของของตัวเก็บไว้, คิดแต่จะเอา ไม่คิดจะให้.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เรา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เรา, more than 5 found, display 1-5
  1. จิตตานุปัสสนา : สติพิจารณาใจที่เศร้าหมองหรือผ่องแผ้วเป็นอารมณ์ว่าใจนี้ก็สักว่าใจ ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตน เรา เขา กำหนดรู้จิตตามสภาพที่เป็นอยู่ในขณะนั้นๆ เช่น จิตมีราคะ โทสะ โมหะ ก็รู้ว่าจิตมี ราคะ โทสะ โมหะ จิตปราศจาก ราคะ โทสะ โมหะ ก็รู้ว่าจิตปราศจาก ราคะ โทสะ โมหะ (ข้อ ๓ ในสติปัฏฐาน ๔)
  2. สุญญตา : “ความเป็นสภาพสูญ”, ความว่าง 1.ความเป็นสภาพที่ว่างจากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา เฉพาะอย่างยิ่ง ภาวะที่ขันธ์ ๕ เป็นอนัตตา คือ ไร้ตัวมิใช่ตน ว่างจากความเป็นตน ตลอดจนว่างจากสาระต่างๆ เช่น สาระคือความเที่ยง สาระคือความสวยงาม สาระคือความสุข เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง หลักธรรมฝ่ายปรมัตถ์ดังเช่นขันธ์ ธาตุ อายตนะ และปัจจยาการ (อิทัปปัจจยตา หรือ ปฏิจจสมุปบาท) ที่แสดงแต่ตัวสภาวะให้เห็นความว่างเปล่าปราศจากสัตว์ บุคคล เป็นเพียงธรรมหรือกระบวนธรรมล้วนๆ 2.ความว่างจากกิเลส มีราคะ โทสะ โมหะ เป็นต้น ก็ดี สภาวะที่ว่างจากสังขารทั้งหลายก็ดี หมายถึง นิพพาน 3.โลกุตตรมรรค ได้ชื่อว่าเป็นสุญญตา ด้วยเหตุผล ๓ ประการ คือ เพราะลุด้วยปัญญาที่กำหนดพิจารณาความเป็นอนัตตา มองเห็นสภาวะที่สังขารเป็นสภาพว่าง (จากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน) เพราะว่างจากกิเลสมีราคะเป็นต้น และเพราะมีสุญญตา คือ นิพพาน เป็นอารมณ์ 4.ความว่าง ที่เกิดจากความกำหนดหมายในใจ หรือทำใจเพื่อให้เป็นอารมณ์ของจิตในการเจริญสมาบัติ เช่น ผู้เจริญอากิญจัญญายตนสมาบัติกำหนดใจถึงภาวะว่างเปล่าไม่มีอะไรเลย; สุญตา ก็เขียน
  3. อนัตตลักษณะ : ลักษณะที่เป็นอนัตตา, ลักษณะที่ให้เห็นว่าเป็นของมิใช่ตัวตน ได้แก่ ๑) เป็นของสูญ คือ เป็นเพียงการประชุมเข้าขององค์ประกอบที่เป็นส่วนย่อยๆ ทั้งหลาย ว่างเปล่าจากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา หรือการสมมติเป็นต่างๆ ๒) เป็นสภาพหาเจ้าของมิได้ ไม่เป็นของใครจริง ๓) ไม่อยู่ในอำนาจ ไม่เป็นไปตามความปรารถนา ไม่ขึ้นต่อการบังคับบัญชาของใครๆ ๔) เป็นสภาวธรรมอันเป็นไปตามเหตุปัจจัย ขึ้นต่อเหตุปัจจัย ไม่มีอยู่โดยลำพังตัว แต่เป็นไปโดยสัมพันธ์ อิงอาศัยกันอยู่กับสิ่งอื่นๆ ๕) โดยสภาวะของมันเอง ก็แย้งหรือค้านต่อความเป็นอัตตา มีแต่ภาวะที่ตรงข้ามกับความเป็นอัตตา
  4. ปาริเลยยกะ : ชื่อแดนบ้านแห่งหนึ่งใกล้เมืองโกสัมพีที่พระพุทธเจ้าเสด็จเข้าไปอาศัยอยู่ในป่ารักขิตวันด้วยทรงปลีกพระองค์ จากพระสงฆ์ผู้แตกกันในกรุงโกสัมพี; ช้างที่ปฏิบัติพระพุทธเจ้าที่ป่านั้น ก็ชื่อ ปาริเลยยกะ; เราเรียกกันในภาษาไทยว่า ปาเลไลยก์ก็มี ป่าเลไลยก์ ก็มี ควรเขียน ปาริไลยก์ หรือปาเรไลยก์
  5. กัปปิยภูมิ : ที่สำหรับเก็บเสบียงอาหารของวัด, ครัววัด มี ๔ อย่าง คือ อุสสาวนันติกา กัปปิยภูมิที่ทำด้วยการประกาศให้รู้แต่แรกสร้างว่าจะทำเป็นกัปปิยภูมิ คือพอเริ่มยกเสาหรือตั้งฝาก็ประกาศให้ได้ยินว่า กปฺปิยภูมึ กโรม แปลว่า เราทั้งหลายทำกัปปิยกุฎี ๑ โคนิสาทิกา กัปปิยภูมิขนาดเล็ก เคลื่อนที่ได้ ดุจเป็นที่โคจ่อม ๑ คหปติกา เรือนของคฤหบดีเขาสร้างถวายเป็นกัปปิยภูมิ ๑ สัมมติกา กัปปิยภูมิที่สงฆ์สมมติ ได้แก่ กุฎีที่สงฆ์เลือกจะใช้เป็นกัปปิยกุฎี แล้วสวดประกาศด้วยญัตติทุติยกรรม ๑
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เรา, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรา, more than 5 found, display 1-5
  1. เร : อ. โว๊ย, เว้ย
  2. อมฺหา : ๑. อิต. แม่โค ; ๒. ก. (เรา) มีอยู่, เป็นอยู่
  3. มามก : (วิ.) เป็นของเรา วิ. มม ภาโวติ มามโก. ณ ปัจ. ราคมทิตัท. ก สกัด หรือ ณก ปัจ.
  4. ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
  5. พุทฺธมามก : (นปุ.) ผู้ถือพระ พุทธเจ้าว่าเป็นของของเรา, ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา, ผู้ถือพระพุทธ ศาสนาว่าเป็นของเรา, ผู้ที่ประกาศตนว่าเคารพนับถือพระพุทธศาสนา.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เรา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เรา, more than 5 found, display 1-5
  1. เราปวดท้อง : อุทรวาโต เม อุฏฺฐิโต
  2. เราปวดศีรษะ : สีสํ เม รุชฺชติ
  3. กอง : ราสิ, ขนฺโธ, กาโย [ป.]
  4. พระประยูรญาติ : ราชวํสิกญาตโย
  5. พระราชวัง : ราชนิเวสนํ, ราชมนฺทิรํ
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เรา, more results...

(0.2066 sec)