Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เลอะเลือน, เลือน, เลอะ , then ลอ, ลอน, ลอลอน, เลอ, เลอะ, เลอะเลือน, เลือน .

Eng-Thai Lexitron Dict : เลอะเลือน, more than 7 found, display 1-7
  1. fade : (VI) ; เลือน ; Related:เผือด, เหี่ยว, (สี)ตก, จาง, สลัว, เห็นเลือนลาง, เห็นลางๆ, เห็นจางๆ, จาง, ร่วงโรย, เสื่อม, ลบเลือน, จางหาย, หายตัวไป ; Syn:vanish
  2. fade from : (PHRV) ; เลือนรางจาก ; Related:จางลงจาก, เลือนหายจาก
  3. fall in with : (PHRV) ; เลือนราง ; Related:จางลง, เลือนหายจาก
  4. fade away : (PHRV) ; ค่อยๆ เลือนหายไป ; Related:เสื่อม, เลือน, เลือนหาย ; Syn:gradually, disappear, waste away
  5. melt : (VI) ; เลือนหาย ; Related:ค่อยๆ จางหายไป
  6. muddy : (ADJ) ; เลอะโคลน ; Related:เปรอะเปื้อน, เต็มไปด้วยโคลน ; Syn:boggy, marshy, miry, mucky, quaggy, sloughy, swampy ; Ant:dry, barren
  7. muzzy : (ADJ) ; เลือนราง ; Related:ไม่ชัดเจน, ขุ่นมัว ; Syn:blurred, foggy, fuzzy, hazy, dull
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : เลอะเลือน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เลอะเลือน, more than 7 found, display 1-7
  1. เลอะเลือน : (V) ; become blurred ; Related:be unclear, be confused ; Syn:หลง, ลืม, หลงลืม ; Def:มีความทรงจำที่ยุ่งเหยิง ; Samp:ปู่แกเลอะเลือนมากแล้วเพราะอายุที่มากขึ้น
  2. ฟั่นเฟือน : (ADJ) ; frantic ; Related:distraught, disordered ; Syn:เลอะเลือน ; Def:คุ้มดีคุ้มร้าย, สติไม่ค่อยดี ; Samp:เขามีสติฟั่นเฟือนเพราะถูกเวทย์มนตร์สะกดไว้
  3. เลือน : (ADJ) ; blurred ; Related:dim, obscured, indistinct, fuzzy, faint, unclear ; Syn:มัว, เลือนราง ; Def:ที่มองเห็นไม่ชัดเจน ; Samp:ตลิ่งที่ถูกฝุ่นบังมิดชิดค่อยๆ ปรากฏเป็นภาพเลือน และมองเห็นได้ชัดขึ้นเป็นลำดับ
  4. เลือน : (ADJ) ; blurred ; Related:dim, obscured, indistinct, fuzzy, faint, unclear ; Syn:มัว, เลือนราง ; Def:ที่มองเห็นไม่ชัดเจน ; Samp:ตลิ่งที่ถูกฝุ่นบังมิดชิดค่อยๆ ปรากฏเป็นภาพเลือน และมองเห็นได้ชัดขึ้นเป็นลำดับ
  5. เลือน : (V) ; become dim ; Related:be unclear, be indistinct ; Syn:หลงเลือน, ลางเลือน ; Def:จำได้ไม่ชัดเจน, ไม่แจ่มแจ้ง ; Samp:พวกเขาห่างกันไปหลายปีความจำของทั้งสองฝ่ายจึงเลือนไป
  6. เลอะ : (ADJ) ; dirty ; Related:soiled, unclean, filthy, stained, foul, grubby, messy, mucky ; Syn:เปื้อน, เปรอะ, เลอะเทอะ ; Def:ที่เปรอะไปด้วยสิ่งเปียกๆ แฉะๆ มีลักษณะเละ ; Samp:แม่สั่งไม่ให้เอาเสื้อตัวที่เลอะไปซักรวมกับเสื้อตัวอื่น
  7. เลอะ : (V) ; make a mess ; Related:be dirty, be filthy, be soiled, mess up ; Syn:เปื้อน, เปรอะ, เลอะเทอะ ; Def:เปรอะไปด้วยสิ่งเปียกๆ แฉะๆ มีลักษณะเละ ; Samp:ฝุ่นแป้งเลอะอยู่เป็นหย่อมๆ บนเครื่องประทินโฉมราคาแพงเหล่านั้น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เลอะเลือน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เลอะเลือน, more than 5 found, display 1-5
  1. เลอะเลือน : ว. หลง ๆ ลืม ๆ, ฟั่นเฟือน, เช่น พอแก่ตัว ความจำ เลอะเลือน.
  2. เลอะ : ว. เปื้อน เช่น เสื้อเลอะเขม่า หน้าเลอะหมึก, เปรอะไปด้วยสิ่งเปียก ๆ แฉะ ๆ มีลักษณะเละ อย่างโคลนเลน เช่น ย่ำโคลนขึ้นบ้านเลอะหมด, เรี่ยรายกระจัดกระจายไปทั่วอย่างไม่มีระเบียบ เช่น วางข้าวของไว้ เลอะเต็มห้อง, โดยปริยายหมายความว่า วุ่นวายสับสน เช่น เรื่องนี้ชัก เลอะกันใหญ่ ผ้าดอกเลอะ; หลง ๆ ลืม ๆ เช่น พูดจาเลอะ อายุมากแล้ว ชักจะเลอะ.
  3. หลงใหล : ก. คลั่งไคล้ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น หลงใหลนักร้อง; เลอะเลือน, มีสติเฟือน,เช่น คนแก่มักหลงใหล กินแล้วก็ว่าไม่ได้กิน.
  4. หลง ๆ ลืม ๆ : ว. เลอะเลือน, จำได้บ้างไม่ได้บ้าง, ขี้หลงขี้ลืม ก็ว่า.
  5. เลือน, เลือน : ว. มัว ๆ, ไม่แจ่มแจ้ง, เช่น ภาพเก่าสีเลือนไปจนเห็นหน้าไม่ชัด มองเห็นเลือน ๆ, เฟือน ๆ เช่น ความจำเลือนไป. ก. บัง, กั้น, เช่น มีกําแพงแลงเลือน ต่อต้าย. (ยวนพ่าย).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เลอะเลือน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เลอะเลือน, 9 found, display 1-9
  1. บริกรรม : 1.(ในคำว่า “ถ้าผ้ากฐินนั้นมีบริกรรมสำเร็จด้วยดี”) การตระเตรียม, การทำความเรียบร้อยเบื้องต้น เช่น ซัก ย้อม กะ ตัด เย็บ เสร็จแล้ว 2.สถานที่เขาลาดปูน ปูไม้ ขัดเงา หรือชักเงา โบกปูน ทาสี เขียนสี แต่งอย่างอื่น เรียกว่าที่ทำบริกรรม ห้ามภิกษุถ่มนำลาย หรือนั่งพิง 3.การนวดฟั้นประคบ หรือถูตัว 4.การกระทำขั้นต้นในการเจริญสมถกรรมฐาน คือ กำหนดใจโดยเพ่งวัตถุ หรือนึกถึงอารมณ์ที่กำหนดนั้น ว่าซ้ำๆ อยู่ในใจ อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อทำใจให้สงบ 5.เลือนมาเป็นความหมายในภาษาไทย หมายถึงท่องบ่น, เสกเป่า
  2. บอกวัตร : บอกข้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนา เมื่อทำวัตรเย็นเสร็จแล้ว ภิกษุรูปเดียวเป็นผู้บอก อาจใช้วิธีหมุนเวียนกันไปทีละรูป ข้อความที่บอกว่าเป็นภาษาบาลี กล่าวถึงปฏิบัติบูชา คาถาโอวาทปาฏิโมกข์ คุณานิสงส์แห่งขันติธรรม คำเตือนให้ใส่ใจในธรรมในเมื่อได้มีโอกาสเกิดมาเป็นมนุษย์พบพระพุทธศาสนา ความไม่ประมาท เร่งเพียรพยายามในทางธรรมเพื่อน้อมไปสู่พระนิพพาน และพ้นจากทุคติ แล้วกล่าวถึงพุทธกิจประจำวัน ๕ ประการ ลำดับกาลใจพระพุทธประวัติ สิ่งแทนพระองค์ภายหลังพุทธปรินิพพาน ชื่อ วัน เดือน ปี และดาวนักษัตร ๒๗ จบลงด้วยคำเชื้อเชิญให้ตั้งอยู่ในพระพุทธโอวาท บำเพ็ญปฏิบัติบูชา เพื่อบรรลุสมบัติทั้งที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระ; ธรรมเนียมนี้ บัดนี้ เลือนลางไปแล้ว
  3. ประสก : เป็นคำเลือนมาจาก อุบาสก พระสงฆ์ครั้งก่อนมักใช้เรียกคฤหัสถ์ผู้ชาย คู่กับ สีกา แต่บัดนี้ได้ยินใช้น้อย
  4. ภันเต : “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ” เป็นคำที่ภิกษุผู้อ่อนพรรษากว่าเรียกภิกษุผู้แก่พรรษากว่า (ผู้น้อยเรียกผู้ใหญ่) หรือคฤหัสถ์กล่าวเรียกพระภิกษุ, คู่กับคำว่า “อาวุโส”; บัดนี้ใช้เลือนกันไปกลายเป็นคำแทนตัวบุคคลไป ก็มี
  5. ภาวนา : การทำให้มีขึ้นเป็นขึ้น, การทำให้เกิดขึ้น, การเจริญ, การบำเพ็ญ 1.การฝึกอบรม ตามหลักพระพุทธศาสนา มี ๒ อย่าง คือ ๑.สมถภาวนา ฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ ๒.วิปัสสนาภาวนา ฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจตามเป็นจริง, อีกนัยหนึ่ง จัดเป็น ๒ เหมือนกันคือ ๑.จิตตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็งมั่นคง เบิกบาน สงบสุขผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ ๒.ปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนมีจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลสและความทุกข์ 2.การเจริญสมถกรรมฐานเพื่อให้เกิดสมาธิ มี ๓ ขั้น คือ ๑.บริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นตระเตรียม คือกำหนดอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุปจารภาวนา ภาวนาขั้นจวนเจียน คือเกิดอุปจารสมาธิ ๓.อัปปนาภาวนา ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือเกิดอัปปนาสมาธิเข้าถึงฌาน 3.ในภาษาไทย ความหมายเลือนมาเป็น การท่องบ่นหรือว่าซ้ำๆ ให้ขลัง ก็มี
  6. สัปปุรุษ : เป็นคำเลือนปะปนระหว่าง สัปปุริส ที่เขียนอย่างบาลี กับ สัตบุรุษ ที่เขียนอย่างสันสกฤต มีความหมายอย่างเดียวกัน (ดู สัตบุรุษ)แต่ในภาษาไทยเป็นคำอยู่ข้างโบราณ ใช้กันในความหมายว่า คฤหัสถ์ผู้มีศรัทธาในพระศาสนา เฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ไปร่วมกิจกรรมทางบุญทางกุศล รักษาศีลฟังธรรมเป็นประจำที่วัดใดวัดหนึ่งบางทีเรียกตามความผูกพันกับวัดว่า สัปปุรุษวัดนั้น สัปปุรุษวัดนี้
  7. สีกา : คำที่พระภิกษุใช้เรียกผู้หญิงอย่างไม่เป็นทางการ เลือนมาจากอุบาสิกา บัดนี้ได้ยินใช้น้อย
  8. อธิกรณ์ : เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วจะต้องจัดต้องทำ, เรื่องที่สงฆ์ต้องดำเนินการ มี ๔ อย่าง คือ ๑) วิวาทาธิกรณ์ การเถียงกันเกี่ยวกับพระธรรมวินัย ๒) อนุวาทาธิกรณ์ การโจทหรือกล่าวหากันด้วยอาบัติ ๓) อาปัตตาธิกรณ์ การต้องอาบัติ การปรับอาบัติ และการแก้ไขตัวให้พ้นจากอาบัติ ๔) กิจจาธิกรณ์ กิจธุระต่างๆ ที่สงฆ์จะต้องทำ เช่น ให้อุปสมบท ให้ผ้ากฐิน, ในภาษาไทยอธิกรณ์มีความหมายเลือนลางลงและแคบเข้า กลายเป็น คดีความ โทษ เป็นต้น
  9. อเลอ : แปลง, ที่อเลออื่น คือที่แปลงอื่น

ETipitaka Pali-Thai Dict : เลอะเลือน, more than 5 found, display 1-5
  1. อทูภก : ค. ไม่เลอะเลือน, ไม่ลวงตา
  2. อโมสธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เลอะเลือน, ความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา
  3. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  4. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  5. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เลอะเลือน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เลอะเลือน, not found

(0.1837 sec)