Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสมอเหมือน, เหมือน, เสมอ , then สมอ, เสมอ, เสมอเหมือน, หมอน, เหมือน .

Eng-Thai Lexitron Dict : เสมอเหมือน, more than 7 found, display 1-7
  1. homo- : (PRF) ; เหมือน
  2. -like : (SUF) ; เหมือน
  3. -ly : (SUF) ; เหมือน
  4. mirror : (VT) ; เหมือน ; Related:เป็นตัวแทนของ, จำลอง ; Syn:copy, duplicate
  5. semper : (ADV) ; เสมอ ; Related:ตลอดเวลา
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : เสมอเหมือน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เสมอเหมือน, more than 7 found, display 1-7
  1. เสมอเหมือน : (V) ; be like as ; Related:be alike, as_as ; Syn:เหมือน, เทียบเท่า, เท่าเทียม ; Samp:ไม่มีเพลงเพลงใดจะไพเราะได้เสมอเหมือนเพลงนี้
  2. เสมอ : (V) ; be equal ; Related:be even, be balanced ; Syn:เท่ากัน ; Def:มีความเท่าเทียมกันหรือเหมือนกัน ; Samp:เขาสองคนเสมอกันในเรื่องความหล่อ แต่ฐานะต่างกันราวฟ้ากับดิน
  3. เสมอ : (ADV) ; always ; Related:constantly, regularly, habitually, often, frequently ; Syn:เป็นนิตย์, ประจำ ; Def:ทำเป็นประจำ ; Samp:ญาติพี่น้องเป็นต้นเหตุที่ทำให้เธอกับสามีทะเลาะกันอยู่เสมอ
  4. เหมือน : (CONJ) ; like ; Related:as, as if, as though, such as, like ; Syn:ราวกับ ; Ant:ต่าง ; Def:มีลักษณะไม่ต่างกัน ; Samp:อุตสาหกรรมของสหรัฐอเมริกากำลังถูกบีบจากต่างชาติ เหมือนลูกนกในกำมือ
  5. เสมือน : (ADV) ; likewise ; Related:similarly, quasi, be like, seem ; Syn:เสมอเหมือน, เปรียบเสมือน, เหมือน ; Samp:ระบบปฏิบัติการเป็นระบบซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เสมือนแม่บ้านของระบบคอมพิวเตอร์ และทำหน้าที่ในการติดต่อสื่อสาร
  6. เสมือนหนึ่ง : (PREP) ; like ; Related:similar ; Syn:เสมือน, เหมือนกับ, เสมอเหมือน ; Samp:บุตรบุญธรรมหมายถึงเด็กที่มีผู้เอามาเลี้ยงดูเสมือนหนึ่งเป็นบุตรของตน
  7. เสมือนหนึ่ง : (PREP) ; like ; Related:similar ; Syn:เสมือน, เหมือนกับ, เสมอเหมือน ; Samp:บุตรบุญธรรมหมายถึงเด็กที่มีผู้เอามาเลี้ยงดูเสมือนหนึ่งเป็นบุตรของตน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เสมอเหมือน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เสมอเหมือน, more than 5 found, display 1-5
  1. เหมือน : [เหฺมือน] ว. ดั่ง, เช่น, ดั่งเช่น, อย่าง, เช่น เขาทำได้เหมือนใจฉันเลย.
  2. เพียง : ว. เท่า เช่น เพียงใด เพียงนี้ เพียงนั้น, แค่, เสมอ, เช่น ศาลเพียงตา สูงเพียงหู, เหมือน เช่น งามเพียงจันทร์ รักเพียงดวงตาดวงใจ, พอ, ในคําโคลงใช้เพี้ยง ก็มี.
  3. เพี้ยง : ว. เท่า, เสมอ, เหมือน. (ใช้ในโคลงแทน เพียง). อ. คําที่เปล่งออกมา เมื่ออธิษฐานให้เป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง.
  4. ฉัน ๓ : ว. เสมอเหมือน, เช่น, อย่าง, เช่น ฉันญาติ.
  5. เปรียบประดุจดัง, เปรียบเหมือน, เปรียบเสมือน : ก. ประดุจดัง, เหมือน, เสมือน, ราวกะ, เพียงดัง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เสมอเหมือน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เสมอเหมือน, more than 5 found, display 1-5
  1. มธุรสูตร : พระสูตรที่พระมหากัจจายนะแสดงแก่พระเจ้ามธุรราช อวันตีบุตร กล่าวถึงความไม่ต่างกันของวรรณะ ๔ เหล่า คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ใจความว่าวรรณะ ๔ นี้ แม้จะถือตัวอย่างไร เหยียดหยามกันอย่างไร แต่ถ้าทำดีก็ไปสู่ที่ดีเหมือนกันหมด ถ้าทำชั่วก็ต้องได้รับโทษ ไปอบายเหมือนกันหมด ทุกวรรณะ เสมอกันในพระธรรมวินัย ออกบวชบำเพ็ญสมณธรรมแล้ว ไม่เรียกว่า วรรณะไหน แต่เป็นสมณะเหมือนกันหมด เมื่อจบเทศนาพระเจ้ามธุรราชประกาศพระองค์เป็นอุบาสก (สูตรที่ ๓๔ ในมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พระสุตตันตปิฎก)
  2. สาธารณสิกขาบท : สิกขาบทที่ทั่วไป, สิกขาบทที่ใช้บังคับทั่วกันหรือเสมอเหมือน หมายถึง สิกขาบทสำหรับภิกษุณี ที่เหมือนกันกับสิกขาบทของภิกษุ เช่น ปาราชิก ๔ ข้อต้นในจำนวน ๘ ข้อของภิกษุณีเหมือนกันกับสิกขาบทของภิกษุ เทียบ อสาธารณสิกขาบท
  3. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ
  4. นิตย์ : เที่ยง, ยั่งยืน, เสมอ, เป็นประจำ
  5. ปฏิภาค : ส่วนเปรียบ, เทียงเคียง, เหมือน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เสมอเหมือน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสมอเหมือน, more than 5 found, display 1-5
  1. สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
  2. กิ : (วิ.) เช่นกับ, เช่นกัน, คล้าย, เสมอ, เหมือน. กิ เวลมฺเพ, อ.
  3. ตุลฺย : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, วิ. ตุลาย สมฺมิโต ตุโลฺย. ตุลาย ตุลนาย สมฺมิโต สมํ มิเณตพฺโพ ตุโลฺย. อภิฯ.
  4. นิพฺพิเสส : ค. อันเหมือนกัน, เสมอกัน, ซึ่งไม่แตกต่างกัน
  5. ปฐวีสม : ค. เสมอด้วยแผ่นดิน, ซึ่งเปรียบเหมือนแผ่นดิน
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เสมอเหมือน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เสมอเหมือน, 8 found, display 1-8
  1. เสมอ : สม-
  2. เหมือน : ยถา, เสยฺยถา, วิย, อิว
  3. ราวกะ, เหมือน : อิว, วิย, ยถา
  4. เสมอ : นิจฺจํ, สทา, อภิณฺหํ, อภิกฺขณํ
  5. ย้ำเสมอ : อภิณฺหํ, อภิกฺขณํ
  6. รูปเหมือน : ปฏิมา, ปฏิพิมฺพํ
  7. หมอน : พิมฺโพหนํ, อุปธานํ
  8. สมอไทย : หรีตกี [อิ.]

(0.2872 sec)