Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียดาย .

Eng-Thai Lexitron Dict : เสียดาย, 6 found, display 1-6
  1. regret : (VT) ; เสียดาย ; Syn:lament, mourn
  2. pity : (N) ; ความเสียดาย ; Related:ความอับอาย ; Syn:shame
  3. disappointing : (ADJ) ; น่าผิดหวัง ; Related:น่าเสียดาย
  4. ungrudging : (ADJ) ; เต็มอกเต็มใจ ; Related:ไม่บ่น, ไม่เสียดาย, ใจกว้าง ; Syn:generous ; Ant:unfair
  5. ungrudgingly : (ADV) ; อย่างเต็มอกเต็มใจ ; Related:ไม่บ่น, ไม่เสียดาย, ใจกว้าง ; Syn:generously

Thai-Eng Lexitron Dict : เสียดาย, more than 7 found, display 1-7
  1. เสียดาย : (V) ; regret ; Related:feel sorry for the loss ; Def:รู้สึกเสียดาย ; Samp:โค้ชเสียดายที่นักกีฬาแพ้ฝ่ายตรงข้าม
  2. เสียดาย : (V) ; deplore ; Related:bemoan, bewail, lament ; Syn:อาลัย ; Def:เป็นห่วงถึง, อาลัยถึงสิ่งที่จากไป ; Samp:ผมเสียดายที่เขาไม่ทำงานอยู่กับเราต่อไป
  3. ความเสียดาย : (N) ; regret ; Related:remorse, sorrow ; Def:การรู้สึกเสียใจในสิ่งที่ควรได้ แต่ไม่ได้ ในสิ่งที่ควรทำ แต่ไม่ได้ทำ ; Samp:หลวงพ่อจำต้องหยุดการศึกษาไว้เพียงเท่านั้นด้วยความเสียดายแต่ได้ตั้งใจแน่วแน่ว่าหากปัญหาสายตาดีแล้วจะศึกษาต่อไป
  4. ความเสียดาย : (N) ; regret ; Related:(a) shame, (a) pity ; Def:การเป็นห่วงถึง, การอาลัยถึงสิ่งที่จากไป ; Samp:ธงไทยตัดสินใจออกจากโรงเรียนด้วยความเสียดาย เพราะฐานะทางบ้านไม่อำนวย
  5. น่าเสียดาย : (ADJ) ; unfortunate ; Related:unlucky, unfavorable ; Syn:โชคร้าย ; Ant:น่าดีใจ, น่ายินดี ; Samp:การที่ผมต้องเสียลูกไปเป็นสิ่งที่น่าเสียดายที่สุดในชีวิตของผม
  6. น่าเสียดาย : (V) ; be unfortunate ; Related:be bad luck, be unlucky, be unfavorable ; Syn:โชคไม่ดี, โชคร้าย ; Ant:น่าดีใจ, น่ายินดี ; Samp:น่าเสียดายที่ต่อจากนี้ไปเราจะไม่มีโอกาสได้พบกันอีก
  7. ข้าวมัน : (N) ; rice cooked with coconut milk ; Related:oily rice ; Def:ข้าวที่หุงด้วยกะทิให้สุก ; Samp:เสียดายไม่มีข้าวมันมากินกับส้มตำ จะได้เพิ่มรสชาติให้อร่อยยิ่งขึ้น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เสียดาย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เสียดาย, 10 found, display 1-10
  1. ฆ่าควายเสียดายเกลือ, ฆ่าควายอย่าเสียดายพริก : (สํา) ก. ทําการใหญ่ ไม่ควรตระหนี่.
  2. รักพี่เสียดายน้อง : (สํา) ก. ลังเลใจ, ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะเลือกอย่างไหนดี. รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ (สํา) ก. รักจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ ให้ตัดความคิด อาฆาตพยาบาทออกไป รักจะอยู่กันสั้น ๆ ให้คิดอาฆาตพยาบาทเข้าไว้, ยาวบั่น สั้นต่อ ก็ว่า.
  3. กลมกลืนกลอน : น. ชื่อเพลงยาวกลอักษร ตัวอย่างว่า แสนเสียดายหายห่างโอ้ แสนเสียดายกรายนาฏช่าง แสนเสียดายงอนงามเจ้า ให้อ่านว่า แสนเสียดาย หายห่างโอ้ห่างหาย แสนเสียดายกรายนาฏช่างนาฏกราย แสนเสียดายงอนงามเจ้างามงอน. (จารึกวัดโพธิ์).
  4. กวางเดินดง : น. ชื่อวิธีรําท่าหนึ่งอยู่ในลําดับว่า นาคาม้วนหาง กวางเดินดง หงส์ลีลา. (ฟ้อน); ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง เช่น อกเอ๋ยอกประหลาดจริงที่นิ่งเฉย โอ้เอ๋ยผิดคิดไม่เห็นจะเป็นเลย เสียดายเอ๋ยที่พี่เคยสงวนงาม. (กลบท).
  5. โฉมยง : น. รูปร่างงามสง่า เช่น หนุ่มน้อยโสภาน่าเสียดาย ควรจะนับว่าชาย โฉมยง. (อิเหนา), หญิงงามสง่า เช่น พระเพื่อนโฉมยงหย้อง อยู่เพี้ยงดวงเดือน. (ลอ).
  6. ทอดแห : ก. เหวี่ยงแหให้แผ่กว้างออกไปเพื่อจับปลาเป็นต้น. ทอดอาลัย ก. ปล่อยไปตามบุญตามกรรมทั้ง ๆ ที่ยังมีใจผูกพันหรือ มีความเสียดายอยู่.
  7. สะตึ, สะตึ ๆ : (ปาก) ว. ไม่มีอะไรดี, ไม่ได้เรื่อง, ไม่มีค่า, เช่น หนังเรื่องนี้สะตึดูแล้ว เสียดายเงิน ของสะตึ ๆ อย่างนี้ไม่ซื้อหรอก.
  8. หมดกัน : คําออกเสียงแสดงความเสียดายหรือผิดหวังเป็นต้น.
  9. อาลัย ๑ : ก. ห่วงใย, พัวพัน, ระลึกถึงด้วยความเสียดาย. น. ความห่วงใย, ความพัวพัน, ความระลึกถึงด้วยความเสียดาย. (ป., ส. อาลย).
  10. โอ้ ๑ : (กลอน) อ. คําในคําประพันธ์ ใช้ในความรําพึง พรรณนา วิงวอน หรือปลอบ เป็นต้น เช่น โอ้พ่อพลายสายสวาทของน้องเอ๋ย ไม่เคย เลยจะห่างเหเสนหา. (ขุนช้างขุนแผน), โอ้ว่า ก็ใช้ เช่น โอ้ว่าน่า เสียดายตัวนัก เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงชํ้าจิต. (อิเหนา). น. ชื่อ เพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า โอ้ เช่น โอ้ปี่ โอ้ร่าย โอ้โลม.

Budhism Thai-Thai Dict : เสียดาย, 1 found, display 1-1
  1. สันโดษ : ความยินดี, ความพอใจ, ยินดีด้วยปัจจัย ๔ คือ ผ้านุ่งผ้าห่ม อาหารที่นอนที่นั่ง และยา ตามมีตามได้, ยินดีของของตน, การมีความสุขความพอใจด้วยเครื่องเลี้ยงชีพที่หามาได้ด้วยความเพียรพยายามอันชอบธรรมของตน ไม่โลภ ไม่ริษยาใคร; สันโดษ ๓ คือ ๑.ยถาลาภสันโดษ ยินดีตามที่ได้ คือได้สิ่งใดมาด้วยความเพียรของตน ก็พอใจด้วยสิ่งนั้น ไม่เดือดร้อนเพราะของที่ไม่ได้ ไม่เพ่งเล็งอยากได้ของคนอื่นไม่ริษยาเขา ๒.ยถาพลสันโดษ ยินดีตามกำลัง คือพอใจเพียงแค่พอแก่กำลังร่างกายสุขภาพและขอบเขตการใช้สอยของตน ของที่เกินกำลังก็ไม่หวงแหนเสียดายไม่เก็บไว้ให้เสียเปล่า หรือฝืนใช้ให้เป็นโทษแก่ตน ๓.ยถาสารุปปสันโดษ ยินดีตามสมควร คือ พอใจตามที่สมควรแก่ภาวะ ฐานะ แนว ทางชีวิต และจุดหมายแห่งการบำเพ็ญกิจของตน เช่นภิกษุพอใจแต่ของอันเหมาะกับสมณภาวะ หรือได้ของใช้ที่ไม่เหมาะกับตนแต่จะมีประโยชน์แก่ผู้อื่น ก็นำไปมอบให้แก่เขา เป็นต้น; สันโดษ ๓ นี้เป็นไปในปัจจัย ๔ แต่ละอย่าง จึงรวมเรียกว่า สันโดษ ๑๒

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสียดาย, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เสียดาย, not found

(0.0392 sec)