Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แขม , then ขม, แขม .

Eng-Thai Lexitron Dict : แขม, 7 found, display 1-7
  1. bitter : (ADJ) ; ขม ; Syn:acetic, tangy
  2. absinth : (N) ; ต้นไม้สีเขียวชนิดหนึ่งที่มีรสขม ; Syn:absinthe
  3. absinthe : (N) ; ต้นไม้สีเขียวชนิดหนึ่งที่มีรสขม ; Syn:absinth
  4. neptune : (N) ; หอยขมทะเล
  5. picric acid : (N) ; กรดสีเหลือง รสขมและมีพิษใช้ทำวัตถุระเบิด
  6. spinach : (N) ; ผักขม
  7. mean 2 : (ADJ) ; ทรุดโทรม ; Related:สกปรก, ซอมซ่อ, ขะมุกขมอม ; Syn:shabby

Thai-Eng Lexitron Dict : แขม, more than 7 found, display 1-7
  1. ขม 2 : (N) ; spinach ; Related:Amaranthus spinosus ; Syn:ผักขม, ผักโขม, ผักโหม ; Def:ชื่อไม้ล้มลุกในสกุล Amaranthus วงศ์ Amaranthaceae มีหลายชนิด เช่น ผักขมหนาม (A. spinosus Linn.) ลำต้นมีหนาม ใช้ทำยาได้ ผักขมสวน (A. tricolor Linn.) ผักขมแดง (A. caudatus Linn.) ใบสีแดง ปลูกเป็นไม้ประดับ ; Samp:นกยูงหากินใบไม้พืชหญ้าผักขมลูกปลาตามริมน้ำเป็นอาหาร ; Unit:ต้น
  2. ขม 3 : (N) ; freshwater snail ; Syn:หอยขม ; Def:ชื่อหอยน้ำจืดกาบเดี่ยวในวงศ์ Viviparidae เปลือกขนาดประมาณเท่าหัวแม่มือ ยอดแหลม สีเขียวหรือดำ ออกลูกเป็นตัว มีหลายชนิด เช่น ชนิด Filopaludina sumatrensis, F. doliari ; Unit:ตัว
  3. ขม 1 : (ADJ) ; bitter ; Related:astringent ; Ant:หวาน ; Def:รสอย่างหนึ่งอย่างรสสะเดาหรือบอระเพ็ด ; Samp:เฮโรอีนบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นผงสีขาวรสขมไม่มีกลิ่น และเป็นเม็ดเล็กๆ ขนาดไข่ปลา
  4. ขื่น : (V) ; be bitter ; Syn:ขม, ฝาด ; Ant:หวาน ; Def:รสฝาดเฝื่อนชวนให้คลื่นไส้ ไม่ชวนกิน ; Samp:ยานี้มันขื่นยังไงชอบกล ยิ่งลงไปที่คอยิ่งขื่นมากขึ้น
  5. ความขม : (N) ; bitterness ; Ant:ความหวาน ; Def:รสอย่างหนึ่งอย่างรสสะเดาหรือบอระเพ็ด ; Samp:ความขมของยาทำให้เขาต้องดื่มน้ำหวานตาม
  6. ผักขม : (N) ; Spinach ; Def:พรรณไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ; Samp:วิตามินบีพบมากในผักขมและผักใบเขียวอื่นๆ ; Unit:ต้น
  7. ยาขม : (N) ; bitter pill ; Samp:เด็กๆ เบือนหน้าหนีเมื่อรู้ว่าต้องกินยาขม
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แขม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แขม, more than 5 found, display 1-5
  1. แขม : [แขมฺ] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Saccharum arundinaceum Retz. ในวงศ์ Gramineae มักขึ้นตามชายนํ้า ชายป่า และชายเขาที่ชุ่มชื้น, พง ก็เรียก.
  2. แขม : [ขะแม] น. คนเขมร, เขียนเป็น แขมร์ ก็มี.
  3. กวางแขม : ดู เนื้อทราย ที่ เนื้อ๒.
  4. พง ๒ : ดู แขม๑และ เลา ๑.
  5. กสิกรรม : น. การทําไร่ไถนา. [กะสิน] น. สมถกรรมฐานหมวดหนึ่งว่าด้วยอารมณ์ที่กําหนดธาตุ ๔ คือ ปฐวี (ดิน) อาโป (น้า) เตโช (ไฟ) วาโย (ลม), ว่าด้วยวรรณะ (สี) ๔ คือ นีล (สีเขียว) ปีต (สีเหลือง) โลหิต (สีแดง) โอทาต (สีขาว), ว่าด้วยอากาศ (ที่ว่าง) และ อาโลก (แสงสว่าง) รวมเป็น ๑๐ อย่าง. (ป.). [กะ-] น. เกณฑ์สําหรับลบพุทธศักราชเป็นจุลศักราช ตรงกับเลข ๑๑๘๑. [กะหาปะนะ] (แบบ) น. เงินตรามีพิกัดเท่ากับ ๒๐ มาสก หรือ ๑ ตําลึง คือ ๔ บาท. (ป.). [กะเลวะราก] (กลอน) น. ซากศพ, บางทีใช้เข้าคู่กันเป็น กเฬวรากซากศพ, เขียนเป็น กเฬวราก์ ก็มี เช่น เผากเฬวราก์ผู้อนาถ. (มาลัยคําหลวง). น. กลุ่มแห่งต้นไม้ที่เกิดจากเหง้าเดียวกัน เช่น กอหญ้า กอแขม กอไผ่, ต้นไม้ที่ขึ้นเป็นกลุ่ม เช่น กอข้าว, ใช้เข้าคู่กับคํา เหล่า ว่า เหล่ากอ หมายความว่า เชื้อสาย. (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ต้นก่อ. (ดู ก่อ๒). ดู หนอนกอ ที่ หนอน๑. ก. ทําให้เกิดขึ้น มีขึ้น หรือเป็นรูปขึ้น เช่น ก่อไฟ ก่อสงคราม ก่อตึก.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แขม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แขม, 5 found, display 1-5
  1. อทุกขมสุข : ไม่ทุกข์ไม่สุข, ความรู้สึกเฉยๆ (ข้อ ๓ ในเวทนา ๓)
  2. ทรมาน : ข่ม, ปราบ, ฝึก, ทำให้เสื่อมพยศ, ทำให้เสื่อมการถือตัว, ทำให้กลับใจ บัดนี้มักหมายถึง ทำให้ลำบาก
  3. ลหุ : เสียงเบา ได้แก่ รัสสะสระไม่มีตัวสะกด อ อิ อุ เช่น น ขมติ
  4. เวทนา : ความเสวยอารมณ์, ความรู้สึก, ความรู้สึกสุขทุกข์ มี ๓ อย่าง คือ ๑.สุขเวทนา ความรู้สึกสุขสบาย ๒.ทุกขเวทนา ความรู้สึกไม่สบาย ๓.อทุกขมสุขเวทนา ความรู้สึกไม่สุข ไม่ทุกข์ คือ เฉยๆ เรียกอีกอย่างว่า อุเบกขาเวทนา; อีกหมวดหนึ่งจัดเป็น เวทนา ๕ คือ ๑.สุข สบายกาย ๒.ทุกข์ ไม่สบายกาย ๓.โสมนัส สบายใจ ๔.โทมนัส ไม่สบายใจ ๕.อุเบกขา เฉยๆ; ในภาษาไทย ใช้หมายความว่าเจ็บปวดบ้าง สงสารบ้าง ก็มี
  5. อุเบกขา : 1) ความวางใจเป็นกลาง ไม่เอนเอียงด้วยชอบหรือชัง, ความวางใจเฉยได้ ไม่ยินดียินร้าย เมื่อใช้ปัญญาพิจารณาเห็นผลอันเกิดขึ้นโดยสมควรแก่เหตุ และรู้ว่าพึงปฏิบัติต่อไปตามธรรม หรือตามควรแก่เหตุนั้น, ความรู้จักวางใจเฉยดู เมื่อเห็นเขารับผิดชอบตนเองได้ หรือในเมื่อเขาควรต้องได้รับผลอันสมควรแก่ความรับผิดชอบของเขาเอง, ความวางทีเฉยคอยดูอยู่ในเมื่อคนนั้นๆ สิ่งนั้นๆ ดำรงอยู่หรือดำเนินไปตามควรของเขาตามควรของมัน ไม่เข้าข้างไม่ตกเป็นฝักฝ่าย ไม่สอดแส่ ไม่จู้จี้สาระแน ไม่ก้าวก่ายแทรกแซง(ข้อ ๔ ในพรหมวิหาร ๔, ข้อ ๗ ในโพชฌงค์ ๗, ข้อ ๑๐ ในบารมี ๑๐, ข้อ ๙ ในวิปัสสนูปกิเลส ๑๐) 2) ความรู้สึกเฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์ เรียกเต็มว่าอุเบกขาเวทนา (= อทุกขมสุข)

ETipitaka Pali-Thai Dict : แขม, more than 5 found, display 1-5
  1. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  2. ขม ขมน : (วิ.) ทน, อดทน, อดอกลั้น. ขมฺ สหเน, อ, ยุ.
  3. เตชน : (ปุ.) ไม้แขม. ติชฺ นิสาเน, ยุ.
  4. ขมติ : ก. อดทน, อดกลั้น, ข่มใจได้, อภัยให้
  5. นิกฺขมณีย นิกฺขมนีย : (ปุ.) เดือนสาวนะ, เดือนเก้า. วิ. อนฺโตวิถิโต พหิ นิกฺขมติ สุริโย เอตฺถาติ นิกฺขมณีโย. อนีย ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : แขม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แขม, 4 found, display 1-4
  1. รสขม : ติตฺติก
  2. เชื่อ : สทฺทหิตฺวา, ปฏิสญฺจิกขนฺต, ปสาเทตฺวา, ขโม, สทฺเทตวา
  3. ผ่านไป : อติกฺกมติ, อติกฺขมติ, อติกฺกนฺโต
  4. ยกโทษ ขอโทษ : ขมิ

(0.1333 sec)