ทิฏฐาวิกัมม์ : การทำความเห็นให้แจ้ง ได้แก่ แสดงความเห็นแย้ง คือภิกษุผู้เข้าประชุมในสงฆ์บางรูปไม่เห็นร่วมด้วยคำวินิจฉัยอันสงฆ์รับรองแล้วก็ให้แสดงความเห็นแย้งได้
ทุกขลักษณะ : เครื่องกำหนดว่าเป็นทุกข์, ลักษณะที่จัดว่าเป็นทุกข์, ลักษณะที่แสดงให้เห็นว่าเป็นทุกข์คือ ๑.ถูกการเกิดขึ้นและการดับสลายบีบคั้นอยู่ตลอดเวลา ๒.ทนได้ยากหรือคงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ๓.เป็นที่ตั้งแห่งความทุกข์ ๔.แย้งต่อสุขหรือเป็นสภาวะที่ปฏิเสธความสุข
ปฏิกโกสนา : การกล่าวคัดค้านจังๆ (ต่างจากทิฏฐาวิกัมม์ ซึ่งเป็นการแสดงความเห็นแย้ง ชี้แจงความเห็นที่ไม่ร่วมด้วยเป็นสวนตัว แต่ไม่ได้คัดค้าน)
ปรัปวาท : (ปะรับปะวาด) คำกล่าวของคนพวกอื่นหรือลัทธิอื่น, คำกล่าวโทษคัดค้านโต้แย้งของคนพวกอื่น, หลักการของฝ่ายอื่น, ลัทธิภายนอก
รูป : 1.สิ่งที่จะต้องสลายไปเพราะปัจจัยต่างๆ อันขัดแย้ง, สิ่งที่เป็นรูปร่างพร้อมทั้งลักษณะอาการของมัน, ส่วนร่างกาย จำแนกเป็น ๒๘ คือ มหาภูต หรือ ธาตุ ๔ และ อุปาทายรูป ๒๔ (= รูปขันธ์ในขันธ์ ๕) 2.อารมณ์ที่รู้ได้ด้วยจักษุ, สิ่งที่ปรากฏแก่ตา (ข้อ ๑ ในอารมณ์ ๖ หรือในอายตนะภายนอก ๖) 3.ลักษณนาม ใช้เรียกพระภิกษุสามเณร เช่น ภิกษุรูปหนึ่ง สามเณร ๕ รูป ; ในภาษาพูดบางแห่งนิยมใช้ องค์
Budhism Thai-Thai Dict : แย้ง, more results...
กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
ปฏิกูล : ค., นป. ปฏิกูล, น่าเกลียด, น่ารังเกียจ, ซึ่งขัดแย้ง; ความเป็นของน่ารังเกียจ, ความเป็นของไม่สะอาด
ปฏิกูลคาหิตา : อิต. ความเป็นผู้ถือเอาโดยอาการอันขัดแย้ง
ปฏิวาณ : นป. การขัดแย้ง, การขัดขวาง, การต้านทาน
ปฏิวิรุชฺฌติ : ก. โกรธ, มุ่งร้าย, ขัดใจ, ขัดแย้ง
ETipitaka Pali-Thai Dict : แย้ง, more results...