Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แว่นขยาย, แว่น, ขยาย , then ขยาย, แพ่น, วน, วนขยาย, แว่น, แว่นขยาย .

Eng-Thai Lexitron Dict : แว่นขยาย, more than 7 found, display 1-7
  1. hand lens : (N) ; แว่นขยาย ; Syn:hand glass
  2. magnifying glass : (N) ; แว่นขยาย ; Syn:glass, hand glass
  3. amplify : (VT) ; ขยาย ; Related:ทำให้เพิ่มขึ้น, ขยายใหญ่ ; Syn:increase
  4. put forth : (PHRV) ; ขยาย ; Related:แผ่ออกไป (ต้นไม้ คำเก่า) ; Syn:put out, send forth
  5. loupe : (N) ; แว่นขยายของช่องทางเพชรพลอยหรือช่างซ่อมนาฬิกา
  6. broaden out : (PHRV) ; ขยาย (ความคิด, ทักษะ ฯลฯ) ; Related:ทำให้กว้างขึ้น
  7. glasses : (N) ; แว่นตา ; Related:แว่น
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : แว่นขยาย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : แว่นขยาย, more than 7 found, display 1-7
  1. แว่นขยาย : (N) ; magnifying glass ; Def:แว่นที่ทำจากเลนส์นูน ใช้ส่องดูของเล็กให้เห็นใหญ่ มีระยะโฟกัสสั้น ; Samp:เขาพินิจดูก้อนแร่ด้วยแว่นขยาย ; Unit:อัน
  2. แว่น : (N) ; slice ; Def:้เรียกสิ่งที่เป็นแผ่นกลมๆ บางๆ ; Samp:ถ้าเป็นปลาสวายก็จะตัดเป็นแว่นบางๆ ก่อนนำไปต้ม
  3. แว่น : (N) ; glasses ; Related:spectacles ; Syn:แว่นตา ; Def:แผ่นแก้วกระจกใช้ส่องให้เห็นชัด ; Samp:คนไม่น้อยยังจดจำภาพเธอสวมแว่นเหน็บหนังสือเล่มเล็กๆ ไว้เสมอ ; Unit:อัน
  4. แว่น : (N) ; slice
  5. แว่น : (N) ; glasses ; Related:spectacles ; Unit:อัน
  6. หน้าแว่น : (N) ; vermicelli extruder ; Syn:แว่น ; Def:เครื่องโรยขนมจีน เป็นโลหะกลมแบน เป็นรูๆ ที่ติดอยู่กลางผ้า ; Unit:อัน
  7. แว่นตา : (N) ; glasses ; Related:spectacles ; Syn:แว่น ; Def:สิ่งที่ทำด้วยแก้วหรือวัสดุใส เป็นเครื่องสวมตาเพื่อช่วยให้มองเห็นชัดขึ้น เป็นต้น ; Samp:ในที่เกิดเหตุเจ้าหน้าที่พบแว่นตาผู้หญิง 1 อัน นาฬิกาเรือนเหล็กไม่ทราบยี่ห้อ 1 เรือน จึงได้เก็บรวบรวมไว้เป็นหลักฐาน ; Unit:อัน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แว่นขยาย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แว่นขยาย, more than 5 found, display 1-5
  1. แว่นขยาย : น. เลนส์นูนที่มีระยะโฟกัสสั้น ใช้สําหรับส่องดูให้เห็น เป็นภาพขยาย.
  2. ขยาย : [ขะหฺยาย] ก. อธิบาย, ชี้แจง, เช่น ขยายความ, แผ่กว้างออกไป เช่น ขยายตัว, เปิดเผย เช่น ขยายความลับ, คลายให้หายแน่น เช่น ขยาย เข็มขัดให้หลวม, คลี่, แย้ม, เช่น ดอกไม้ขยายกลีบ, ทําให้กว้างใหญ่ ออกไป เช่น ขยายห้อง ขยายรูป, ทําให้มากขึ้น เช่น ขยายพันธุ์. ขยายขี้เท่อ (ปาก) ก. แสดงให้เห็นความโง่เขลา.
  3. แว่น : น. สิ่งที่เป็นแผ่นเป็นวงหรือเป็นดวง เช่น หั่นมะเขือเทศให้เป็นแว่น, ใช้แก่สิ่งซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น อาจจะมีคำอื่นมาขยาย และ เรียกชื่อตามหน้าที่ตามความหมาย หรือตามลักษณะของสิ่งนั้น ๆ เช่น แว่นแคว้น แว่นส่องหน้า; (ถิ่นอีสาน) กระจก; เครื่องโรยขนมจีน เป็นแผ่นกลม ทำด้วยทองเหลืองหรือทองแดงเป็นต้นที่เจาะรูทั่ว แผ่นเย็บติดไว้ตรงกลางผ้าสี่เหลี่ยมซึ่งเจาะรูให้พอเหมาะกับแผ่น ทองเหลืองหรือทองแดงนั้น, หน้าแว่น ก็เรียก; ลักษณนาม เรียกสิ่งกลม ๆที่ตัดออกตามขวางเป็นชิ้นบาง ๆ เช่น บอระเพ็ด ๗ แว่น มันเทศ ๕ แว่น; โดยปริยายหมายถึงหนังสือคู่มือ เช่น แว่นไวยากรณ์ แว่นอังกฤษ.
  4. แว่น : น. (๑) ชื่อเฟินชนิด Marsilea crenata Presl ในวงศ์ Marsileaceae มีใบกลม ๔ ใบเรียงเป็นวงทุกส่วนกินได้ เรียกว่า ผักแว่น. (๒) (ถิ่นตราด) ต้นบัวบก. [ดู บัวบก(๑)].
  5. แว่น : ก. กระโดด, ว่องไว; มา เช่น ผิว่าแว่นเร็วอ้า. (ลอ).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แว่นขยาย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แว่นขยาย, more than 5 found, display 1-5
  1. กฐิน : ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือไม้แบบสำหรับขึงเพื่อตัดเย็บจีวร; ในทางพระวินัยใช้เป็นชื่อเรียกสังฆกรรมอย่างหนึ่งที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่สงฆ์ผู้จำพรรษาแล้ว เพื่อแสดงออกซึ่งความสามัคคีของภิกษุที่ได้จำพรรษาอยู่ร่วมกัน โดยให้พวกเธอพร้อมใจกันยกมอบผ้าผืนหนึ่งที่เกิดขึ้นแก่สงฆ์ ให้แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งในหมู่พวกเธอ ที่เป็นผู้มีคุณสมบัติสมควร แล้วภิกษุรูปนั้นนำผ้าที่ได้รับมอบไปทำเป็นจีวร (จะทำเป็นอันตรวาสก หรืออุตตราสงค์ หรือสังฆาฏิก็ได้ และพวกเธอทั้งหมดจะต้องช่วยภิกษุนั้นทำ) ครั้นทำเสร็จแล้ว ภิกษุรูปนั้นแจ้งให้ที่ประชุมสงฆ์ซึ่งได้มอบผ้าแก่เธอนั้นทราบเพื่ออนุโมทนา เมื่อสงฆ์คือที่ประชุมแห่งภิกษุเหล่านั้นอนุโมทนาแล้ว ก็ทำให้พวกเธอได้สิทธิพิเศษที่จะขยายเขตทำจีวรให้ยาวออกไป (เขตทำจีวรตามปกติ ถึงกลางเดือน ๑๒ ขยายต่อออกไปถึงกลางเดือน ๔); ผ้าที่สงฆ์ยกมอบให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งนั้น เรียกว่า ผ้ากฐิน (กฐินทุสสะ); สงฆ์ผู้ประกอบกฐินกรรมต้องมีจำนวนภิกษุอย่างน้อย ๕ รูป; ระยะเวลาที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ประกอบกฐินกรรมได้ มีเพียง ๑ เดือน ต่อจากสิ้นสุดการจำพรรษา เรียกว่า เขตกฐิน คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒
  2. ฉายา : 1.เงา, อาการที่เป็นเงาๆ คือ ไม่ชัดออกไป, อาการเคลือบแฝง 2.ชื่อที่พระอุปัชฌายะตั้งให้แก่ผู้ขอบวชเป็นภาษาบาลี เรียกว่าชื่อฉายา ที่เรียกเช่นนี้เพราะเดิมเมื่อเสร็จการบวชแล้ว ต้องมีการวัดฉายาคือเงาแดดด้วยการสืบเท้าว่าเงาหดหรือเงาขยายแค่ไหน ชั่วกี่สืบเท้า การวัดเงาด้วยเท้านั้นเป็นมาตรานับเวลา เรียกว่า บาท เมื่อวัดแล้วจดเวลาไว้และจดสิ่งอื่นๆ เช่นชื่อพระอุปัชฌายะ พระกรรมวาจาจารย์ จำนวนสงฆ์ และชื่อผู้อุปสมบท ทั้งภาษาไทยและมคธ ลงในนั้นด้วย ชื่อใหม่ที่จดลงตอนวัดฉายานั้น จึงเรียกว่าชื่อฉายา
  3. ทำการเมือง : งานของแว่นแคว้น, งานของหลวง
  4. ธรรมกาย : “ผู้มีธรรมเป็นกาย” เป็นพระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า (ตามความในอัคคัญญสูตร แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค) หมายความว่า พระองค์ทรงคิดพุทธพจน์คำสอนด้วยพระหทัยแล้วทรงนำออกเผยแพร่ด้วยพระวาจา เป็นเหตุให้พระองค์ก็คือพระธรรม เพราะทรงเป็นแหล่งที่ประมวลหรือที่ประชุมอยู่แห่งธรรมอันปรากฏเปิดเผยออกมาแก่ชาวโลก; อนึ่งธรรมกายคือกองธรรมหรือชุมนุมแห่งธรรมนั้น ย่อมเจริญงอกงามเติบขยายขึ้นได้โดยลำดับจนไพบูลย์ ในบุคคลผู้เมื่อได้สดับคำสอนของพระองค์ แล้วฝึกอบรมตนด้วยไตรสิกขาเจริญมรรคให้บรรลุภูมิแห่งอริยชน ดังตัวอย่างดำรัสของพระมหาปชาบดีโคตมี เมื่อครั้งกราบทูลลาพระพุทธเจ้าเพื่อปรินิพพานตามความในคัมภีร์อปทานตอนหนึ่งว่า “ข้าแต่พระสุคตเจ้า หม่อมฉันเป็นมารดาของพระองค์, ข้าแต่พระธีรเจ้า พระองค์ก็เป็นพระบิดาของหม่อมฉัน..รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันได้ทำให้เจริญเติบโต ส่วนธรรมกายอันเป็นที่เอิบสุขของหม่อมฉัน ก็เป็นสิ่งอันพระองค์ได้ทำให้เจริญเติบโต”; สรุปตามนัยอรรถกถาธรรมกายก็คือโลกุตตรธรรม ๙ หรือ อริยสัจ
  5. นิมิต : 1.เครื่องหมาย ได้แก่วัตถุอันเป็นเครื่องหมายแห่งสีมา, วัตถุที่ควรใช้เป็นนิมิตมี ๘ อย่าง ภูเข ศิลา ป่าไม้ ต้นไม้ จอมปลวก หนทาง แม่น้ำ น้ำ 2.(ในคำว่าทำนิมิต) ทำอาการเป็นเชิงชวนให้เขาถวาย, ขอเขาโดยวิธีให้รู้โดยนัย ไม่ขอตรงๆ 3.เครื่องหมายสำหรับให้จิตกำหนดในการเจริญกรรมฐาน, ภาพที่เห็นในใจของผู้เจริญกรรมฐาน, ภาพที่เป็นอารมณ์กรรมฐาน มี ๓ คือ ๑.บริกรรมนิมิต นิมิตแห่งบริกรรม หรือนิมิตตระเตรียม ได้แก่สิ่งที่เพ่ง หรือกำหนดนึกเป็นอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุคคหนิมิต นิมิตที่ใจเรียน หรือนิมิตติดตาติดใจ ได้แก่ สิ่งที่เพ่งหรือนึกนั้นเอง ที่แม่นในใจ จนหลับตามองเห็น ๓.ปฏิภาคนิมิต นิมิตเสมือน หรือนิมิตเทียบเคียง ได้แก่ อุคคหนิมิตนั้น เจนใจจนกลายเป็นภาพที่เกิดจากสัญญา เป็นของบริสุทธิ์ จะนึกขยาย หรือย่อส่วนก็ได้ตามปรารถนา 4.สิ่งที่พระโพธิสัตว์ทอดพระเนตรเห็นก่อนเสด็จออกบรรพชา ๔ อย่าง ดู เทวทูต
  6. Budhism Thai-Thai Dict : แว่นขยาย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : แว่นขยาย, more than 5 found, display 1-5
  1. อาทาส, - สก : ป. กระจก, แว่น, คันฉาย, คันส่อง
  2. ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
  3. ผุลฺล : (วิ.) แผ่, ขยาย, กระจาย, แผ่ไป, กระจายไป. ผุลฺ ผรเณ, โล.
  4. วิกสติ : ก. แย้ม, ขยาย
  5. วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : แว่นขยาย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แว่นขยาย, 6 found, display 1-6
  1. กระจกเงา, แว่น : อาทาโส, อาทาสโก, ทปฺปโณ
  2. ขยายความ : นิทฺทิฏฺฐํ
  3. แว่นแคว้น : รฏฺฐํ, วิชิตํ
  4. ไพร : วน, สณฺโฑ
  5. ป่าละเมาะ : วนคุมฺโพ
  6. ป่า : วนํ, อรญฺญํ

(0.1941 sec)