Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แสดงท่าที, ท่าที, แสดง , then ทาท, ท่าที, สดง, สดงทาท, แสดง, แสดงท่าที .

Eng-Thai Lexitron Dict : แสดงท่าที, more than 7 found, display 1-7
  1. act : (VI) ; แสดง ; Related:รับบท, แสดงเป็น
  2. act : (VT) ; แสดง ; Related:รับบท, แสดงเป็น ; Syn:perform, play, playact
  3. play upon : (PHRV) ; แสดง ; Related:เล่น (ดนตรี, การแสดง)
  4. play upon/on : (PHRV) ; แสดง ; Related:เล่น (ดนตรี, การแสดง)
  5. give : (VT) ; แสดง ; Syn:present
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : แสดงท่าที, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : แสดงท่าที, more than 7 found, display 1-7
  1. แสดงท่าที : (V) ; act ; Related:behave, do, conduct, perform, appear ; Syn:แสดงทีท่า ; Def:ทำอาการแสดงให้รู้ความหมายเป็นนัย ; Samp:หล่อนแสดงท่าทีรังเกียจเขาเต็มที่
  2. ท่าที : (N) ; attitude ; Related:reaction, manner ; Syn:ทีท่า, ท่า, อาการ, กิริยาอาการ, ท่วงท่า, อากัปกริยา ; Def:กริยาอาการหรือท่าทีที่มีต่อสถานการณ์หรือบุคคลเป็นต้น ; Samp:ท่าทีของโซเวียตรัสเซียในเอเซียอาคเนย์กำลังจะเปลี่ยนแปลง
  3. แสดง : (V) ; indicate ; Related:mark, show, direct ; Syn:บ่งบอก ; Def:บอกข้อความให้รู้, ทำให้ปรากฏออกมา ; Samp:ความหิวมีส่วนให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมได้กว้างขวางมาก
  4. แสดง : (V) ; play ; Related:perform, act ; Syn:เล่น ; Def:ทำตามบทบาท ; Samp:ละครจะเริ่มแสดงเวลา 19.00 น.
  5. แสดง : (V) ; show ; Related:display, exhibit ; Syn:เล่น, สำแดง
  6. เข้าฉาก : (V) ; perform ; Related:do acting, make a show ; Syn:แสดง ; Def:เริ่มแสดงบทบาทของตนตอนใดตอนหนึ่ง ; Samp:ได้เวลาเข้าฉากสำคัญแล้ว ทุกฝ่ายเตรียมตัวให้พร้อม
  7. สำแดง : (V) ; show ; Related:exhibit, manifest, display ; Syn:แสดง ; Def:ทำให้เห็นปรากฏ, ทำให้เห็น ; Samp:เขาเคยสำแดงเดชนำมือปืนบุกที่ทำการของศัตรูตัวฉกาจ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แสดงท่าที, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แสดงท่าที, more than 5 found, display 1-5
  1. ท่าที : น. ความเป็นไปของสถานการณ์หรือบุคคลเป็นต้น, ทีท่า ก็ว่า.
  2. สงวนท่าที, สงวนทีท่า : ก. ไม่แสดงท่าทีให้ปรากฏชัดแจ้งเพื่อไม่ให้ ผู้อื่นรู้ความคิดของตน เช่น เขาสงวนท่าทีไม่ยอมแสดงความคิดเห็น ในที่ประชุม, ระมัดระวังกิริยาวาจาไม่ให้ใครดูถูก เช่น ก่อนจะทักทาย ใคร ควรสงวนทีท่าไว้บ้าง.
  3. ตั้ง : ก. ชูตัว, ชูตัวหรือทําให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าว เอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดํารง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม; ทําให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น, เช่น ตั้งตําแหน่งใหม่ ตั้งบ้านตั้งเรือน; ยกฐานะให้สูงขึ้น เช่น ตั้งพระราชาคณะ ตั้ง เปรียญ; กําหนด เช่น ตั้งราคา; วาง เช่น ตั้งสํารับ; วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น ตั้งหนังสือเป็นกองสูง; เริ่ม, เริ่มมี, เช่น ตั้งครรภ์ ตั้งเค้า ตั้งท้อง. บ. คําแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน เช่น เสียตั้งชั่ง ไปตั้งปี. น. ลักษณนามเรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น หนังสือตั้งหนึ่ง หนังสือ ๒ ตั้ง, ครั้ง เช่น มาลองกันดูสักตั้ง. ตั้งกรม ก. สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม. ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมาย ก. ตั้งความมุ่งหมาย, กําหนดจุดมุ่งหมาย. ตั้งไข่ ก. สอนยืน (ใช้แก่เด็ก). ตั้งเค้า ก. เริ่มแสดงท่าทีให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า. ตั้งแง่ ก. ทําชั้นเชิง, ไม่ตรงไปตรงมา, คอยหาเรื่องจับผิด. ตั้งใจ, ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดใจจ่อ. ตั้งต้น ก. เริ่มทํา, ขึ้นต้น. ตั้งตัว ก. ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน; ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้ง ตัวเป็นใหญ่. ตั้งตาคอย ก. เฝ้าคอย. ตั้งแต่ บ. นับจากเวลาหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งเป็นต้นไป (มักใช้เข้าคู่กับคำ จนถึง หรือ จน กระทั่ง). ตั้งแต่ง ก. ยกขึ้น, สถาปนา. ตั้งโต๊ะ ก. จัดโต๊ะอาหาร; จัดโต๊ะหมู่บูชา. ตั้งท้อง ว. เรียกข้าวที่มีรวงอ่อน ๆ ว่า ข้าวตั้งท้อง. ตั้งท่า ก. วางท่า; เตรียมตัวพร้อม, คอยทีอยู่. ตั้งธาตุ ก. จัดระบบการย่อยอาหารให้เป็นปรกติ. ตั้งนาฬิกา ก. เทียบนาฬิกาให้ตรงเวลา. ตั้งนาฬิกาปลุก ก. ตั้งเวลาให้นาฬิกาปลุกตามที่ต้องการ. ตั้งหน้า, ตั้งหน้าตั้งตา ก. มุ่งหน้า; ตั้งใจทํา, ทําอย่างจริงจัง, มุ่งมั่น. ตั้งหัวเรือ ก. ทําให้เรืออยู่ในแนว ไม่ให้หัวเรือส่ายไปมา. ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดจ่อ, ตั้งใจ ก็ว่า.
  4. ในที : (ว. มีท่าทีจะเป็นเช่นนั้นแต่ไม่แสดงให้ปรากฏ เช่น ยิ้มในที รู้ในที, อยู่ในที ก็ว่า.
  5. สวมหน้ากาก : (สำ) ก. แสดงทีท่าหรือกิริยาอาการที่มิได้เกิดจากนิสัย ใจจริง, แสดงกิริยาท่าทีลวงให้เข้าใจผิด, เช่น ต่างคนต่างสวมหน้ากาก เข้าหากัน, ใส่หน้ากาก ก็ว่า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แสดงท่าที, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แสดงท่าที, more than 5 found, display 1-5
  1. ปลงอาบัติ : แสดงอาบัติเพื่อให้พ้นจากอาบัติ, ทำตนให้พ้นจากอาบัติด้วยการเปิดเผยอาบัติของตนแก่สงฆ์หรือแก่ภิกษุอื่น, แสดงความผิดของตนเพื่อเปลื้องโทษทางวินัย, ใช้สำหรับอาบัติที่แสดงแล้วพ้นได้ คือ ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาสิต
  2. เลศ : แสดงอาการให้รู้ในที; อาการที่พอจะยกขึ้นอ้างเพื่อใส่ความ
  3. อิทธิวิธี : แสดงฤทธิ์ได้ต่างๆ เช่น นิรมิตกายคนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ล่องหน ดำดิน เดินน้ำ เป็นต้น (ข้อ ๑ ในอภิญญา ๖, ข้อ ๓ ในวิชชา ๘)
  4. กตัญญูกตเวที : ผู้รู้อุปการะที่ท่านทำแล้วและตอบแทน แยกออกเป็น ๒ คือ กตัญญู รู้คุณท่าน กตเวที ตอบแทนหรือสนองคุณท่าน; ความกตัญญูกตเวทีว่าโดยขอบเขต แยกได้เป็น ๒ ระดับ คือ กตัญญูกตเวทีต่อบุคคลผู้มีคุณความดีหรืออุปการะต่อตนเป็นส่วนตัว อย่างหนึ่ง กตัญญูกตเวทีต่อบุคคลผู้ได้บำเพ็ญคุณประโยชน์หรือมีคุณความดีเกื้อกูลแก่ส่วนรวม เช่นที่พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธเจ้าโดยฐานที่ได้ทรงประกาศธรรมยังหมู่ชนให้ตั้งอยู่ในกุศลกัลยาณธรรม เป็นต้น อย่างหนึ่ง (ข้อ ๒ ในบุคคลหาได้ยาก ๒) - one who is thankful for benefits received and reciprocates them.
  5. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  6. Budhism Thai-Thai Dict : แสดงท่าที, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : แสดงท่าที, more than 5 found, display 1-5
  1. กิตฺเตติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, ประกาศคุณ; บอก, แสดง
  2. ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
  3. ทิสติ : ก. ชี้, แสดง
  4. นฏติ : ก. ฟ้อนรำ, เต้นรำ, แสดง
  5. นิทฺทิฏฐ : ค. ชี้แจง, แสดง, อธิบาย
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : แสดงท่าที, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แสดงท่าที, 10 found, display 1-10
  1. แสดง : เทเสติ, เทสิต, ทีเปติ
  2. กล่าว, แสดง : สงฺขาติ
  3. แสดง (นามธรรม) : เทเสติ, ทีเปติ
  4. แสดง (รูปธรรม) : ทสฺเสติ
  5. แสดงความผิด : ปราธเทสโก
  6. แสดงพิสดาร : วิตฺถาเรติ
  7. แสดงให้เข้าใจ : อาโรเจติ วิวรติ วิภชติ อุตฺตานีกโรติ
  8. แสดงให้เห็นว่า.. : อตฺถปริทีปนา
  9. แสดงอ้าง : อปทิสติ
  10. การยกมือแสดงความเคารพ : อญฺชลิกา [อิต.]

(0.3342 sec)