Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แสดงละคร, แสดง, ละคร , then ละคร, สดง, แสดง, แสดงละคร .

Eng-Thai Lexitron Dict : แสดงละคร, more than 7 found, display 1-7
  1. playact : (VI) ; แสดงละคร ; Syn:perform
  2. play-act : (VI) ; แสดงละคร ; Syn:perform
  3. play for : (PHRV) ; แสดง (ดนตรี / ละคร) ให้กับ / เพื่อ
  4. render : (VT) ; แสดง (ละคร, ดนตรี, กวี) ; Syn:act, play, perform
  5. act : (VT) ; แสดง ; Related:รับบท, แสดงเป็น ; Syn:perform, play, playact
  6. act : (VI) ; แสดง ; Related:รับบท, แสดงเป็น
  7. play upon : (PHRV) ; แสดง ; Related:เล่น (ดนตรี, การแสดง)
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : แสดงละคร, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : แสดงละคร, more than 7 found, display 1-7
  1. แสดงละคร : (V) ; pretend to deceive others ; Syn:เล่นละคร ; Def:แกล้งทำเพื่อหลอกลวงผู้อื่น ; Samp:เธอเลิกแสดงละครตบตาคนอื่นเสียทีได้ไหม
  2. แสดงละคร : (V) ; perform a play ; Related:act in a play ; Syn:เล่นละคร ; Samp:ดาราคนนี้แสดงละครได้สมบทบาทมาก
  3. แสดง : (V) ; play ; Related:perform, act ; Syn:เล่น ; Def:ทำตามบทบาท ; Samp:ละครจะเริ่มแสดงเวลา 19.00 น.
  4. ละคร : (N) ; play ; Related:stage performance, drama, theatrical performance, show ; Samp:ละครเรื่องนี้ไม่เป็นที่นิยมของประชาชน
  5. แสดง : (V) ; indicate ; Related:mark, show, direct ; Syn:บ่งบอก ; Def:บอกข้อความให้รู้, ทำให้ปรากฏออกมา ; Samp:ความหิวมีส่วนให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมได้กว้างขวางมาก
  6. แสดง : (V) ; show ; Related:display, exhibit ; Syn:เล่น, สำแดง
  7. ละครนอก : (N) ; play performed by all male ; Ant:ละครใน ; Def:ละครที่ผู้แสดงเป็นชายล้วนซึ่งราษฎรเป็นผู้จัดเล่น ; Samp:ผู้แสดงละครนอกจะต้องมีความคล่องแคล่วในการรำ และร้อง ; Unit:เรื่อง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แสดงละคร, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แสดงละคร, more than 5 found, display 1-5
  1. ละคร : [–คอน] น. การแสดงประเภทหนึ่ง ผู้แสดงเรียกว่า ตัวละคร มีเวที หรือสถานที่ใช้ในการแสดง มีบทให้ตัวละครแสดงตามเนื้อเรื่อง โดยมากมีดนตรีประกอบ มีลักษณะแตกต่างกันออกไปหลายชนิด; การเล่นที่ใช้สัตว์เป็นตัวแสดง เช่น ละครลิง ละครสัตว์, โดยปริยาย หมายถึงความเป็นไปของชีวิต เช่น ละครชีวิต โลกคือละครโรงใหญ่.
  2. เล่น : ก. ทําเพื่อสนุกหรือผ่อนอารมณ์ เช่น เล่นเรือ เล่นดนตรี; แสดง เช่น เล่นโขน เล่นละคร เล่นงานเหมา; สาละวนหรือหมกมุ่นอยู่กับสิ่ง ใด ๆ ด้วยความเพลิดเพลินเป็นต้น เช่น เล่นกล้วยไม้; สะสมของเก่า พร้อมทั้งศึกษาหาความเพลิดเพลินไปด้วย เช่น เล่นเครื่องลายคราม เล่นพระเครื่อง เล่นแสตมป์; พนัน เช่น เล่นม้า เล่นมวย; ร่วมด้วย, เอาด้วย, เช่น งานนี้ขอเล่นด้วยคน เรื่องคอขาดบาดตาย เขาคงไม่เล่น ด้วย; (ปาก) ทำร้าย เช่น อวดดีนัก เล่นเสีย ๒ แผลเลย; กิน เช่น หิว มาก เลยเล่นข้าวเสีย ๓ จาน. ว. อาการที่ทำหรือพูดอย่างไม่เอาจริง เช่น กินเล่น พูดเล่น, เล่น ๆ ก็ว่า.
  3. ละครแก้บน : น. ละครชาตรีตอนสั้น ๆ ที่จัดแสดงแก้บน.
  4. ละครโทรทัศน์ : น. ละครพูดที่แสดงทางโทรทัศน์ มีการตกแต่งฉาก ให้เหมือนจริง.
  5. ละครนอก : น. ละครรำแบบหนึ่ง ปรับปรุงให้ดีขึ้นจากละครชาตรี ในชั้นต้นตัวละครเป็นชายล้วน ภายหลังหญิงชายแสดงปนกัน มีบทเจรจา การแสดงพลิกแพลงนอกเรื่องได้ไม่ต้องรักษาระเบียบ แบบแผนนัก แสดงได้ทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องที่ละครในใช้แสดง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แสดงละคร, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แสดงละคร, more than 5 found, display 1-5
  1. ปลงอาบัติ : แสดงอาบัติเพื่อให้พ้นจากอาบัติ, ทำตนให้พ้นจากอาบัติด้วยการเปิดเผยอาบัติของตนแก่สงฆ์หรือแก่ภิกษุอื่น, แสดงความผิดของตนเพื่อเปลื้องโทษทางวินัย, ใช้สำหรับอาบัติที่แสดงแล้วพ้นได้ คือ ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาสิต
  2. เลศ : แสดงอาการให้รู้ในที; อาการที่พอจะยกขึ้นอ้างเพื่อใส่ความ
  3. อิทธิวิธี : แสดงฤทธิ์ได้ต่างๆ เช่น นิรมิตกายคนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ล่องหน ดำดิน เดินน้ำ เป็นต้น (ข้อ ๑ ในอภิญญา ๖, ข้อ ๓ ในวิชชา ๘)
  4. กตัญญูกตเวที : ผู้รู้อุปการะที่ท่านทำแล้วและตอบแทน แยกออกเป็น ๒ คือ กตัญญู รู้คุณท่าน กตเวที ตอบแทนหรือสนองคุณท่าน; ความกตัญญูกตเวทีว่าโดยขอบเขต แยกได้เป็น ๒ ระดับ คือ กตัญญูกตเวทีต่อบุคคลผู้มีคุณความดีหรืออุปการะต่อตนเป็นส่วนตัว อย่างหนึ่ง กตัญญูกตเวทีต่อบุคคลผู้ได้บำเพ็ญคุณประโยชน์หรือมีคุณความดีเกื้อกูลแก่ส่วนรวม เช่นที่พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธเจ้าโดยฐานที่ได้ทรงประกาศธรรมยังหมู่ชนให้ตั้งอยู่ในกุศลกัลยาณธรรม เป็นต้น อย่างหนึ่ง (ข้อ ๒ ในบุคคลหาได้ยาก ๒) - one who is thankful for benefits received and reciprocates them.
  5. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  6. Budhism Thai-Thai Dict : แสดงละคร, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : แสดงละคร, more than 5 found, display 1-5
  1. คิริย : ป. ชื่อนักแสดงละครพวกหนึ่ง
  2. นาฏก : ๑. ป. ตัวละคร, นักฟ้อน, นักเต้นรำ, นักแสดง, ๒. นป. การแสดง, การละคร
  3. นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
  4. อภินย : (ปุ.) การนำไปยิ่ง, การนำไปเฉพาะ.อภิปุพฺโพ, นีนเย, อ.การแสดงท่าทาง, การแสดงละคร, การแสดงกล.วิ.ปสฺสนฺ-ตานํอภิมุขํนยนํอภินโย.อภิปุพฺโพ, นีปาปุณเนโพธเนวา, อ.ส.อภินย.
  5. กิตฺเตติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, ประกาศคุณ; บอก, แสดง
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : แสดงละคร, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แสดงละคร, 10 found, display 1-10
  1. แสดง : เทเสติ, เทสิต, ทีเปติ
  2. กล่าว, แสดง : สงฺขาติ
  3. แสดง (นามธรรม) : เทเสติ, ทีเปติ
  4. แสดง (รูปธรรม) : ทสฺเสติ
  5. แสดงความผิด : ปราธเทสโก
  6. แสดงพิสดาร : วิตฺถาเรติ
  7. แสดงให้เข้าใจ : อาโรเจติ วิวรติ วิภชติ อุตฺตานีกโรติ
  8. แสดงให้เห็นว่า.. : อตฺถปริทีปนา
  9. แสดงอ้าง : อปทิสติ
  10. การยกมือแสดงความเคารพ : อญฺชลิกา [อิต.]

(0.3591 sec)