Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แสน , then สน, แสน .

Eng-Thai Lexitron Dict : แสน, more than 7 found, display 1-7
  1. hundred thousand : (N) ; แสน ; Related:แสน
  2. hundred thousand : (ADJ) ; แสน ; Related:หนึ่งแสน
  3. blinder : (SL) ; แสนจะสนุกสนาน ; Related:สนุกสุดยอด
  4. blinding : (SL) ; แสนจะสนุกสนาน ; Related:สนุกสุดยอด
  5. ambrosia : (N) ; อาหารที่แสนอร่อย
  6. lac : (N) ; จำนวนแสน (โดยเฉพาะหน่วยรูปี) ; Syn:lakh
  7. rack with : (PHRV) ; ทำให้ทุกข์แสนสาหัสจาก
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : แสน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : แสน, more than 7 found, display 1-7
  1. แสน : (ADV) ; very ; Related:extremely ; Def:มากยิ่ง, เหลือล้น ; Samp:เขายอมควักกระเป๋าเป็นเงิน 40,000 บาทเพื่อซื้อเครื่องเอ็กซ์ทีที่แสนเชื่องช้า
  2. แสน : (N) ; hundred thousand ; Def:จำนวนสิบหมื่น ; Samp:โปรแกรมการเชื่อมโยงฐานความรู้ได้นั้นเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปชุดใหญ่ราคาเป็นแสนเหรียญ
  3. แสนเข็ญ : (ADV) ; extremely troublesomely ; Related:very troubling ; Def:ลำบากมาก ; Samp:ในอดีตการเจรจาการค้ากับชาติตะวันตกนั้น เป็นไปอย่างยากเย็นแสนเข็ญ เพราะไม่มีใครรู้จักภาษาอังกฤษสักคนเดียว
  4. แสนวิเศษ : (ADJ) ; marvelous ; Related:wonderful ; Syn:ดีเลิศ ; Samp:นิยายแปลเรื่อง แม่มด เป็นหนังสือที่แสนสนุก แสนวิเศษ น่าสะพรึงกลัวอย่างจับใจ
  5. นานแสนนาน : (ADV) ; long time ago ; Related:for ages ; Syn:นมนาน, นาน ; Def:เป็นเวลานานเหลือเกิน, นานมาก ; Samp:นิสัยโกงกินบ้านเมืองของพวกข้าราชการมีมานานแสนนานแล้ว
  6. นานแสนนาน : (V) ; be agelong ; Related:be a long time ; Syn:นานมาก, นมนาน ; Ant:ไว ; Def:นานเหลือเกิน ; Samp:อดีตนั้นนานแสนนานเสียจน จนเขาแทบจะนึกอะไรไม่ออก
  7. เหลือแสน : (ADV) ; exceedingly ; Related:extremely ; Syn:เหลือเกิน, มากมาย, เหลือล้น, เหลือหลาย ; Samp:เขาต้องมาเป็นศัตรูกัน ทั้งที่รักกันอย่างเหลือแสน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แสน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แสน, more than 5 found, display 1-5
  1. ฝนแสนห่า ๑ : น. วิธีเขียนหนังสืออย่างหนึ่งใช้ตัวเลขแทนตัวหนังสือ; ชื่อดอกไม้ไฟ ชนิดหนึ่งมีประกายไฟพุ่งออกมาคล้ายไฟพะเนียง แต่หมุนรอบตัว. (รูปภาพ ฝนแสนห่า)
  2. เหลือแสน : ว. มากยิ่ง เช่น ร้ายเหลือแสน, มั่งมีเหลือแสน.
  3. นานแสนนาน : ว. นานเหลือเกิน.
  4. ฝนแสนห่า ๒ : น. (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Argyreia capitiformis
  5. ล้าน ๑ : น. จํานวน ๑๐ แสน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แสน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แสน, more than 5 found, display 1-5
  1. มหาวิโลกนะ : “การตรวจดูอันยิ่งใหญ่”, ขอตรวจสอบพิจารณาที่สำคัญ หมายถึง สิ่งที่พระโพธิสัตว์ทรงพิจารณาตรวจดู ก่อนจะตัดสินพระทัยประทานปฏิญาณรับอาราธนาของเทพยดาทั้งหลาย ว่าจะจุติจากดุสิตเทวโลกไปบังเกิดในพระชาติสุดท้ายที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า มี๕อย่าง (นิยมเรียกว่า ปัญจมหาวิโลกนะ) คือ ๑.กาล คืออายุกาลของมนุษย์จะต้องอยู่ระหว่าง ๑๐๐ ถึง ๑ แสนปี (ไม่สั้นกว่าร้อยปี ไม่ยาวเกินแสนปี) ๒.ทีปะ คือทวีป จะอุบัติแต่ในชมพูทวีป ๓.เทสะ คือประเทศ หมายถึงดินแดนจะอุบัติในมัธยมประเทศ และทรงกำหนดเมืองกบิลพัสดุ์เป็นที่พึงบังเกิด ๔.กุละ คือ ตระกูล จะอุบัติเฉพาะในขัตติยสกุลหรือในพราหมณสกุล และทรงกำหนดว่าเวลานั้นโลกสมมติว่าตระกูลกษัตริย์ประเสริฐกว่าตระกูลพราหมณ์ จึงจะอุบัติในตระกูลกษัตริย์ โดยทรงเลือกพระเจ้าสุทโธทนะเป็นพุทธบิดา ๕.ชเนตติอายุปริจเฉท คือมารดา และกำหนดอายุของมารดา มารดาจะต้องมีศีล ๕ บริสุทธิ์ ไม่โลเลในบุรุษ ไม่เป็นนักดื่มสุรา ได้บำเพ็ญบารมีมาตลอดแสนกัลป์ ทรงกำหนดได้พระนางมหามายา และทรงทราบว่าพระนางจะมีพระชนม์อยู่เกิน ๑๐ เดือนไปได้ ๗ วัน (สรุปตามแนวอรรถกถาชาดก)
  2. สวรรค์ : แดนอันแสนดีเลิศล้ำด้วยกามคุณทั้ง ๕, โลกของเทวดา ตามปกติหมายถึงกามาพจรสวรรค์ (สวรรค์ที่ยังเกี่ยวข้องกาม) ๖ ชั้น คือ จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตดี
  3. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ
  4. ญาณทัสสนวิสุทธิ : ความหมดจดแห่งญาณทัศนะ ได้แก่ ญาณในอริยมรรค ๔ ดู วิสุทธิ
  5. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ : ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องเห็นทางปฏิบัติ ได้แก่ วิปัสสนาญาณ ๙ (ข้อ ๖ ในวิสุทธิ ๗)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : แสน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : แสน, more than 5 found, display 1-5
  1. ลกฺข : นป. เครื่องหมาย, รอย, ที่หมาย, เป้า; แสน
  2. สตสหสฺส : นป. แสน
  3. กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
  4. จตุราสีติโยชนสตสหสฺสุพฺเพธ : (วิ.) มีแสนแห่ง โยชน์แปดสิบสี่เป็นส่วนสูง, สูงแปดสิบสี่ แสนโยชน์, สูงแปดโกฏิสี่แสนโยชน์.
  5. ทสสตสหสฺส : (นปุ.) แสนสิบ, แสนสิบหน, สิบแสน, ล้าน, ล้านหนึ่ง, หนึ่งล้าน. วิ. สตสหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสตสหสฺสํ (การคูณด้วยสิบแห่งแสนชื่อว่าล้าน). ลบ คุณิต แล้วแปร ทส ไว้หน้า . รูปฯ ๔๐๐.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : แสน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แสน, 8 found, display 1-8
  1. แสน : สตสหสฺสํ
  2. หาได้ยากแสนเข็ญ : อติทุลฺลโภ
  3. สั่น, เขย่า : จาเลติ, ปเวธติ, กมฺปติ
  4. กำจัด : นีหรติ, วิทฺธํสน, วิธมิตฺวา, วิทฺธํเสตฺวา
  5. คนปกครอง : ปสาสนการี
  6. ระเบียบการปกครอง : ปสาสนวิธี, ปสาสโนปาโย
  7. โรงครัว, โรงฉัน : มหานสํ, ภตฺตคฺคํ, อาสนสาลํ
  8. เหยี่ยว : เสโน, กุลโล

(0.1609 sec)