วฺยากรณ : นป. การทำให้แจ้ง, การพยากรณ์, ไวยากรณ์
การก : (ปุ.) ผ้ากรองน้ำ, คนผู้ทำ. ทาง ไวยากรณ์ การกมี ๗ มีกัตตุการกเป็นต้น. ส. การก ผู้ทำ.
กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
ETipitaka Pali-Thai Dict : โครงสร้างไวยากรณ์, more results...