Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โลมา , then ลมา, โลม, โลมะ, โลมา .

Eng-Thai Lexitron Dict : โลมา, 9 found, display 1-9
  1. porpoise : (N) ; โลมา (ศัพท์ทางเทคนิคที่ใช้เรียกปลาโลมา)
  2. dolphin : (N) ; ปลาโลมา
  3. porpoise : (N) ; ปลาโลมา (ศัพท์ทางเทคนิคที่ใช้เรียกปลาโลมา)
  4. sea hog : (N) ; ปลาโลมาขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ; Syn:dolphin, porpoise
  5. whorehouse : (N) ; ซ่องนางโลม (คำไม่สุภาพ) ; Related:ซ่อง, ซ่องโสเภณี, ซ่องของผู้หญิงหากิน ; Syn:bawdyhouse, brothel, cathouse
  6. whoremaster : (N) ; คนเที่ยวซ่องนางโลม ; Syn:whoremonger
  7. whoremonger : (N) ; คนเที่ยวซ่องนางโลม ; Syn:whoremaster
  8. bawdyhouse : (N) ; ซ่องโสเภณี ; Related:ซ่องนางโลม ; Syn:brothel
  9. flirt : (VI) ; เกี้ยวพาราสี ; Related:พูดเกี้ยว, แทะโลม, จีบ, แพละโลม, ทำเจ้าชู้ ; Syn:philander, chat up

Thai-Eng Lexitron Dict : โลมา, 12 found, display 1-12
  1. โลมา : (N) ; dolphin ; Syn:ปลาโลมา ; Def:ชื่อสัตว์ทะเลขนาดใหญ่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ; Samp:ปลาโลมาเป็นสัตว์ที่ฉลาดแสนรู้สามารถเอามาฝึกได้ ; Unit:ตัว
  2. โลมา : (N) ; hair ; Syn:โลมะ, ขน ; Unit:เส้น
  3. ปลาโลมา : (N) ; dolphin ; Related:porpoise ; Def:ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Odenteceti มีหลายชนิดในหลายวงศ์ ลำตัวใหญ่ บางชนิดปลายปากยื่นแหลม บางชนิดหัวกลมมน หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ มักมีครีบหลัง 1 ครีบ หายใจด้วยปอด อาศัยอยู่ในทะเล ; Samp:ถ้าคุณเคยนั่งเรือข้ามฝากไปเกาะสมุย คุณจะได้พบกับปลาโลมาว่ายเคียงคู่ไปกับเรือด้วย ; Unit:ตัว
  4. โลม : (V) ; caress ; Related:fondle, pet ; Syn:ลูบโลม ; Def:ทำอาการประคองลูบให้รู้สึกว่ามีความเอ็นดูรักใคร่เหมือนเป็นกันเอง
  5. แพละโลม : (V) ; flirt with ; Related:dally, wanton, court ; Syn:แพะโลม, แทะโลม, พูดเกี้ยว ; Def:พูดเลียบเคียงทางชู้สาว ; Samp:เขาชอบแพละโลมสาวๆ ทุกคนที่อยู่ใกล้ ไม่ว่าใครเขาก็ไม่เว้น
  6. ละโบม : (V) ; caress ; Related:fondle, stroke, pet ; Syn:โลม, ลูบคลำ, เคล้าคลึง
  7. โลมเล้า : (V) ; caress ; Related:fondle, pet, hug, cuddle, stroke, nuzzle ; Syn:โลม, โอ้โลม, ปฏิโลม ; Def:ประคอง ลูบ หรือโอบกอดด้วยความเสน่หา ; Samp:เธอหายโกรธสามีแล้วหลังจากที่เขาโลมเล้าเธออยู่นาน
  8. เล้าโลม : (V) ; wheedle ; Related:console, soothe, appease, coax, cajole ; Syn:โลมเล้า, โลม, โอ้โลม ; Samp:เขาค่อยๆ เล้าโลมทั้งคำพูดและการคลอเคลียใกล้ชิด เพื่อให้เธอยกโทษให้
  9. ตะโบม : (V) ; embrace ; Related:hug, caress, enfold, fondle, encircle, pet ; Syn:เล้าโลม, โอบกอด, โลมไล้ ; Ant:ผลักไส ; Samp:เขาตะโบมโลมไล้เธอจนเธอใจอ่อน
  10. ผู้หญิงหากิน : (N) ; prostitute ; Related:call girl, streetwalker, strumpet ; Syn:โสเภณี, หญิงงามเมือง, หญิงขายบริการ, นางโลม, หญิงขายตัว, กะหรี่ ; Def:ผู้ที่ประกอบอาชีพขายบริการทางเพศ ; Samp:นักเลงผู้นี้มีหน้าที่คุมซ่องด้วยและคอยปกป้องคุ้มครองผู้หญิงหากินเหล่านั้นไม่ให้ถูกรังแกหรือเบี้ยวค่าตัวจากนักเที่ยว ; Unit:คน
  11. แพะโลม : (V) ; dally ; Related:wanton, woo, court ; Syn:แทะโลม, แพละโลม, พูดเกี้ยว ; Def:พูดเลียบเคียงทางชู้สาว ; Samp:เขาก็แพะโลมไปตามประสาผู้ชายเจ้าชู้ ไม่ได้จริงจังอะไร
  12. หญิงขายบริการ : (N) ; prostitute ; Related:whore ; Syn:โสเภณี, หญิงโสเภณี, อีตัว, กระหรี่, นางโลม, ผู้หญิงหากิน, นางคณิกา ; Def:หญิงค้าประเวณี ; Samp:กระทรวงสาธารณสุขเริ่มรณรงค์ให้ความรู้เรื่องวิธีคุมกำเนิด และการป้องกันโรคเอดส์แก่หญิงขายบริการ ; Unit:คน

Royal Institute Thai-Thai Dict : โลมา, more than 5 found, display 1-5
  1. โลม– ๒, โลมะ, โลมา : น. ขน. (ป.). โลมชาติ [โลมมะชาด] น. ขน.
  2. โลมา : น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Odontoceti มีหลายชนิด หลายวงศ์ ลำตัวใหญ่ บางชนิดปลายปากยื่นแหลม บางชนิดหัว กลมมน หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ มักมีครีบหลัง ๑ ครีบ หายใจด้วยปอด อาศัยอยู่ในทะเล เช่น โลมาขาวเทา (Sotalia plumbea) ในวงศ์ Stenidae โลมาหัวขวด (Delphinus delphis) ในวงศ์ Delphinidae โลมาหัวบาตรหลังเรียบ (Neophocaena phocaenoides) ในวงศ์ Phocaenidae, ปลาโลมา ก็เรียก.
  3. ปลาโลมา : ดู โลมา.
  4. ขน ๑ : น. สิ่งที่เป็นเส้นขึ้นตามผิวหนังคนและสัตว์ เช่น ขนตา ขนนก ขนเม่น และใช้ตลอดไปจนถึงที่ขึ้นบนผิวต้นไม้ ผลไม้ ใบไม้ และอื่น ๆ, ราชาศัพท์ว่า พระโลมา.
  5. โรม ๑ : น. โลมา, ขน. (ป.; ส. โรมนฺ).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : โลมา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : โลมา, 8 found, display 1-8
  1. โลมา : ขน
  2. โลมะ : ขน
  3. ปฏิโลม : ทวนลำดับ, ย้อนจากปลายมาหาต้น เช่นว่า ตจปัญจกกัมมัฏฐาน จากคำท้ายมาหาคำต้นว่า ตโจ ทันตา นขา โลมา เกสา (ตรงข้ามกับอนุโลม ตามลำดับว่า เกสา โลมา......), สาวเรื่องทวนจากผลเข้าไปหาเหตุ เช่น วิญญาณเป็นผล มีเพราะสังขาร เป็นเหตุ, สังขารเป็นผล มีเพราะอวิชชาเป็นเหตุ เป็นต้น
  4. อนุโลม : เป็นไปตาม, คล้อยตาม, ตามลำดับ เช่น ว่าตจปัญจกรรมฐานไปตามลำดับอย่างนี้ เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ (ตรงข้ามกับปฏิโลม คือ ทวนลำดับว่า ตโจ ทันตา นขา โมลา เกสา) ; สาวออกไปตามลำดับจากเหตุไปหาผลข้างหน้า เช่น อวิชชาเป็นเหตุสังขารเป็นผล, สังขารเป็นเหตุ วิญญาณเป็นผล เป็นต้น; จัดเข้าได้, นับได้ว่าเป็นอย่างนั้น เช่น อนุโลมนุสา
  5. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ
  6. โลมชาติชูชัน : ขนลุก
  7. สัจจานุโลมญาณ : ดู สัจจานุโลมิกญาณ
  8. ทุฏฐุลลวาจา : วาจาชั่วหยาบ เป็นชื่ออาบัติสังฆาทิเสสข้อที่ ๓ ที่ว่าภิกษุผู้มีความกำหนัด พูดเคาะมาตุคามด้วย วาจาชั่วหยาบ คือ พูดเกี้ยวหญิง กล่าววาจาหยาบโลมพาดพิงเมถุน

ETipitaka Pali-Thai Dict : โลมา, more than 5 found, display 1-5
  1. ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
  2. โลม : นป. ขน
  3. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  4. มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
  5. โกฏมฺพร : (นปุ.)ผ้าทำด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด วิ. มิคโลมานิ โกฏฺเฏตฺวา สุขุมานิ กตฺวา กต มมฺพรํ โกฏมฺพรํ. ผ้าเกิดในรัฐโกฏุม- พระ วิ. โกฏุมฺพรฏฺเฐ ชาตตฺตา โกฏุมฺพรํ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : โลมา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : โลมา, 2 found, display 1-2
  1. ขน : โลมา
  2. ขาดแคลน : เวกลฺลมาปนฺโน

(0.2118 sec)