Dictionary
: English, Thai, Pali.
Link :
Lexitron
,
RoyDict
,
BudDict
,
ETipitaka
,
PpmDict
,
Longdo
.
Enter word :
(use % for wildcard)
Search:
โอช
, then
อช
,
โอช
,
โอชะ
,
โอชา
.
Eng-Thai Lexitron Dict
:
โอช
, 4 found, display 1-4
delicious
:
(ADJ)
;
อร่อย
;
Related:
โอช
ะ
,
โอช
า
,
น่ารับประทาน
,
ถูกปาก
, น่าทาน, มีรสกลมกล่อม
;
Syn:
tasty
,
appetizing
,
yummy
;
Ant:
disqusting,
tasteless
Macintosh
:
(N)
;
เครื่องคอมพิวเตอร์ระบบแม็กอินทอช
mack
:
(N)
;
เครื่องคอมพิวเตอร์แม็กอินทอช (คำไม่เป็นทางการ)
regale
:
(VT)
;
เลี้ยงต้อนรับด้วยอาหารอัน
โอช
ะ
;
Syn:
dine
,
feed
Thai-Eng Lexitron Dict
:
โอช
, 6 found, display 1-6
โอช
ะ
:
(ADJ)
;
delicious
;
Related:
tasty
,
yummy
, ambrosial,
delectable
,
scrumptious
,
toothsome
;
Syn:
โอช
า
,
อร่อย
;
Def:
มีรสดี
;
Samp:
เหล่าแมลงวันพากันบินลงไปกินอาหารอัน
โอช
ะที่อยู่บนพื้นดิน
โอช
ะ
:
(ADV)
;
deliciously
;
Related:
tastily, ambrosially,
scrumptiously
, toothsomely
;
Syn:
โอช
า
,
อร่อย
;
Def:
มีรสดี
;
Samp:
นกใช้ปากปลายโค้งแหลมฉีกหนังท้องของกิ้งก่าออกมากินทีละชิ้นสองชิ้นอย่าง
โอช
ะ
โอช
า
:
(ADJ)
;
delicious
;
Related:
tasty
,
yummy
, ambrosial,
delectable
,
scrumptious
,
toothsome
;
Syn:
โอช
ะ
,
อร่อย
;
Def:
มีรสดี
;
Samp:
พระผู้เป็นเจ้าทรงประทานอาหาร
โอช
า และอุดมสมบูรณ์ให้แก่เรา
อร่อย
:
(ADJ)
;
delicious
;
Related:
tasty
;
Syn:
โอช
ะ
;
Def:
มีรสดี
;
Samp:
อาหารไทยที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายว่ามีรสอร่อยเป็นสัญลักษณ์ของคนไทยได้แก่ น้ำพริกปลาทู แกงเผ็ด ต้มยำกุ้ง หมี่กรอบ และห่อหมก
ง้วน
:
(N)
;
savour
;
Related:
taste
,
relish
,
flavour
;
Syn:
รส
โอช
ะ, รสอร่อย
;
Ant:
ไม่อร่อย, ไร้รสชาติ
;
Samp:
ง้วนผึ้ง คือ ละอองดอกไม้ที่ผึ้งนำมาสะสมไว้ที่รัง มีสีเหลือง มีรสมัน หอมหวาน
จองหอง
:
(V)
;
be conceited
;
Related:
be arrogant, be haughty, be condescending
;
Syn:
หยิ่ง
,
ทะนงตัว
,
ถือดี
,
จองหองพองขน
;
Ant:
ถ่อมตน
;
Samp:
พระผู้เป็นเจ้าทรงประทานอาหารอัน
โอช
าขนาดนี้มาให้ ใครเล่าจะจองหองไม่ยอมรับประทาน
Royal Institute Thai-Thai Dict
:
โอช
, 3 found, display 1-3
โอช
ะ,
โอช
า
:
ว. มีรสดี, อร่อย. น. รสที่ซึมซาบ, เครื่องหรือสิ่งบํารุงเลี้ยงให้เกิด ความเจริญงอกงาม. (ป.).
ขัณฑสกร
:
[ขันทดสะกอน] (โบ) น. นํ้าตาลกรวด, เครื่องยาไทย อย่างหนึ่งคล้ายนํ้าตาลกรวด, นํ้าตาลชนิดหนึ่งเชื่อกันว่าเกิดที่ใบบัว, เช่น เมื่อเวลาพุ่มไม้มีดอกออกตระการบานเต็มที่พร้อมฤดู เสาวคนธรสเรณู โรยร่วงลงบนใบอุบลซึ่งลอยลาดดาดาษอยู่บนหลังน้ำ เมื่อล่วงเวลากาล ก็ก่อเกิด
โอช
ะวิเศษหวานเป็นมธุรส มีนามกำหนดเรียกว่า โบกขรมธุ? ผู้เรียนรู้ลุในตำราแพทยศาสตร์ ย่อมสืบเสาะแสวงหามาประกอบใช้ในการ โอสถ มีนามปรากฏเรียกว่า ขัณฑสกร.(ม. ร่ายยาว จุลพน). (ป. ขณฺฑสกรา, ส.ขณฺฑศรฺกรา).
ง้วน ๑
:
น. เรียก
โอช
ะของบางสิ่ง เช่น ง้วนดิน คือ
โอช
ะของดิน ที่กล่าวไว้ใน คัมภีร์ไตรภูมิโลกวินิจฉัยว่ามีรสหวาน, ง้วนผึ้ง คือ ละอองดอกไม้ที่ ผึ้งนํามาสะสมไว้ที่รัง มีสีเหลือง มีรสมัน หอมหวาน.
Budhism Thai-Thai Dict
:
โอช
, 5 found, display 1-5
อชปาลนิโครธ
:
ต้นไทรเป็นที่อาศัยของคนเลี้ยงแพะ, ชื่อต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขเป็นเวลา ๗ วัน อยู่ทิศตะวันออกของต้นศรีมหาโพธิ์ ดู
วิมุตติสุข
อวินิพโภครูป
:
“รูปที่แยกออกจากกันไม่ได้”, รูปที่มีอยู่ด้วยกันเป็นประจำเสมอไป อย่างขาดมิได้เลยในสิ่งที่เป็นรูปทุกอย่าง กล่าวคือในสิ่งที่เป็นรูปทุกอย่าง แม้แต่ปรมาณูที่เล็กที่สุดก็จะต้องมีรูปธรรมชุดนี้อยู่เป็นอย่างน้อย, คุณสมบัติพื้นฐานที่มีอยู่เป็นประจำในวัตถุ, มี ๘ อย่าง คือ ปฐวี (ภาวะแผ่ขยายหรือรองรับ) อาโป (ภาวะเอิบอาบเกาะกุม) เตโช (ภาวะร้อน) วาโย (ภาวะเคลื่อนไหวเคร่งตึง) วัณณะ (สี) คันธะ (กลิ่น) รสะ (รส)
โอช
า (อาหารรูป); ใน ๘ อย่างนี้ ๔ อย่างแรกเป็นมหาภูตรูป หรือธาต ๔, ๔ อย่างหลังเป็นอุปาทายรูป
ราคา
:
ชื่อลูกสาวพระยามาร อาสาพระยามารเข้าไปประโลมพระพุทธเจ้าด้วยอาการต่างๆ พร้อมด้วยนางตัณหา และนางอรดี ในขณะที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ต้นอชปาลนิโครธ หลังจากตรัสรู้
อรดี
:
ธิดามารคนหนึ่งใน ๓ คน อาสาพระยามารผู้เป็นบิดา เข้าไปประโลมพระพุทธเจ้าด้วยอาการต่างๆ ในสมัยที่พระองค์เสด็จอยู่ที่ไม้อชปาลนิโครธ ภายหลังตรัสรู้ใหม่ๆ (อีก ๒ คน คือ ตัณหา กับ ราคา)
อุปาทายรูป
:
รูปอาศัย, รูปที่เกิดสืบเนื่องจากมหาภูตรูป, อาการของมหาภูตรูป ตามหลักฝ่ายอภิธรรมว่า มี ๒๔ คือ ก) ประสาท หรือ ปสาทรูป ๕ ได้แก่ จักขุ ตา, โสต หู, ฆาน จมูก, ชิวหา ลิ้น, กาย, มโน ใจ, ข) โคจรรูป หรือ วิสัยรูป (รูปที่เป็นอารมณ์) ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (โผฏฐัพพะ ไม่นับเข้าจำนวน เพราะตรงกับปฐวี เตโช วาโย ซึ่งเป็นมหาภูตรูป) ค) ภาวรูป ๒ ได้แก่ อิตถีภาวะ ความเป็นหญิง และปุริสภาวะ ความเป็นชาย ง) หทัยรูป ๑ คือ หทัยวัตถุ หัวใจ จ) ชีวิตรูป ๑ คือ ชีวิตินทรีย์ ภาวะที่รักษารูปให้เป็นอยู่ ฉ) อาหารรูป ๑ คือกวฬิงการาหาร อาหารที่กินเกิดเป็น
โอช
า ช) ปริจเฉทรูป ๑ คือ อากาศธาตุ ช่องว่าง ญ) วิญญัติรูป ๒ คือ กายวิญญัติ ไหวกายให้รู้ความ วจีวิญญัติ ไหววาจาให้รู้ความ คือพูดได้ ฎ) วิการรูป ๕ อาการดัดแปลงต่างๆ ได้แก่ ลหุตา ความเบา, มุทุตา ความอ่อน, กัมมัญญตา ความควรแก่งาน, (อีก ๒ คือ วิญญัติรูป ๒ นั่นเอง ไม่นับอีก) ฏ) ลักขณรูป ๔ ได้แก่ อุปจยะ ความเติบขึ้นได้, สันตติ สืบต่อได้, ชรตา ทรุดโทรมได้, อนิจจตา ความสลายไม่ยั่งยืน (นับโคจรรูปเพียง ๔ วิการรูป เพียง ๓ จึงได้ ๒๔); ดู
มหาภูต
ด้วย
ETipitaka Pali-Thai Dict
:
โอช
, more than 5 found, display 1-5
โอช
:
(วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, สวยงาม, กระจ่าง, ขาว, มีกำลัง, อร่อย, ดี (รส...),
โอช
ฺ ทิตฺติยํ, อ. อุปุพฺโพ วา, ชนฺ ชนเน.
โอช
ทีป
:
ป. ประเทศลังกา, เมืองสิงหฬ
โอช
หาติ
:
ก. สละ, เลิก
อช
:
(ปุ.) แกะ, แพะ.วิ. อชตีติ อโช. อชฺคมเน, อ. น ชายตีติ วา อโช. นปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, อ, นฺโลโป. ส. อช.
โอช
า
:
(อิต.) รัศมี, แสง, ฯลฯ.
โอช
ฺ ทิตฺติยํ, อ.
ETipitaka Pali-Thai Dict
:
โอช
, more results...
Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict
:
โอช
, 4 found, display 1-4
ซื่อตรง
:
ปคุโณ, อชินมฺห, อุชุ
ตรง
:
อุชุ
แพะ
:
อโช, วสฺโส
แพะตัวเมีย
:
อชี, อชา [อิ.]