Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ่ขยาย , then ขยาย, ่ขยาย .

Thai-Eng Lexitron Dict : ่ขยาย, more than 7 found, display 1-7
  1. คลาย : (V) ; loosen ; Related:become loose, unroll, unwind, unravel, slacken, relax ; Syn:ขยาย ; Ant:รัด ; Def:ขยายให้หลวม ; Samp:การช่วยผู้ป่วยหมดสติกลางแจ้ง ต้องรีบนำผู้ป่วยเข้าร่มและคลายเครื่องแต่งกายให้หลวม
  2. ต่อ 2 : (V) ; renew ; Related:extend, stretch out, prolong, expand, enlarge, lengthen, dilate ; Syn:ขยาย ; Def:ทำให้เชื่อมโยงกัน, ทำให้ขยายเพิ่มออกไป ; Samp:เขาเอาเชือกหลายๆ เส้นมาต่อกันเพื่อทำราวตากผ้าชั่วคราว
  3. ต่อ 2 : (V) ; renew ; Related:extend, elongate, draw, protract ; Syn:ขยาย ; Def:ทำให้เชื่อมโยงกัน, ทำให้ติดกันเป็นอันเดียวกัน ; Samp:เขาเอาเชือกหลายๆ เส้นมาต่อกันเพื่อทำราวตากผ้าชั่วคราว
  4. ขยายวง : (V) ; expand (boundaries) ; Related:expand (limits) ; Syn:ขยายขอบเขต, ขยายตัว ; Ant:แคบลง ; Def:แผ่วงกว้างออกไป ; Samp:กรณีปัญหาการปรับค่าทางด่วนขณะนี้ได้ขยายวงกลายเป็นข้อพิพาทระหว่างการทางพิเศษแห่งประเทศไทยกับบริษัททางด่วนกรุงเทพ จำกัดแล้ว
  5. ขยายอาณาเขต : (V) ; expand (territory) ; Syn:ขยายพื้นที่, แผ่อาณาเขต ; Def:่แผ่พื้นที่ หรืออาณาเขตให้กว้างขึ้น ; Samp:เขมรขยายอาณาเขตเข้ามาในอาณาจักรทวาราวดีจนในที่สุดอาณาจักรทวาราวดีก็สูญสิ้นชื่อไป
  6. ขยายความใน : (V) ; give details ; Related:explain, clarify, exemplify ; Syn:อธิบาย ; Def:ขยายเนื้อความให้กว้างหรือละเอียดกว่าเดิม ; Samp:ผู้บรรยายต้องการให้เกิดความกระจ่างในหลักการสำคัญของการบรรยายจึงจะขอขยายความในหัวข้อสำคัญ
  7. ขยายผล : (V) ; extend results ; Related:magnify an outcome ; Samp:การสืบสวนขยายผลจนกระทั่งล่วงรู้ถึงผู้บงการใหญ่
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ่ขยาย, more results...

Eng-Thai Lexitron Dict : ่ขยาย, more than 7 found, display 1-7
  1. pervade : (VT) ; แผ่กระจายทั่ว ; Related:ซ่านไปทั่ว, แพร่หลาย, ่ขยาย ; Syn:diffuse, permeate, saturate
  2. amplify : (VT) ; ขยาย ; Related:ทำให้เพิ่มขึ้น, ขยายใหญ่ ; Syn:increase
  3. put forth : (PHRV) ; ขยาย ; Related:แผ่ออกไป (ต้นไม้ คำเก่า) ; Syn:put out, send forth
  4. broaden out : (PHRV) ; ขยาย (ความคิด, ทักษะ ฯลฯ) ; Related:ทำให้กว้างขึ้น
  5. broaden out : (PHRV) ; ขยาย (ขนาดหรือเนื้อที่) ; Related:กว้างขึ้น (เนื้อที่)
  6. branch out : (PHRV) ; ขยายสาขา ; Related:ขยายออกไป
  7. widen : (VI) ; ขยายออก ; Related:ขยายกว้าง, กว้าง ; Syn:broaden, enlarge, stretch ; Ant:contract, narrow
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ่ขยาย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ่ขยาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ขยาย : [ขะหฺยาย] ก. อธิบาย, ชี้แจง, เช่น ขยายความ, แผ่กว้างออกไป เช่น ขยายตัว, เปิดเผย เช่น ขยายความลับ, คลายให้หายแน่น เช่น ขยาย เข็มขัดให้หลวม, คลี่, แย้ม, เช่น ดอกไม้ขยายกลีบ, ทําให้กว้างใหญ่ ออกไป เช่น ขยายห้อง ขยายรูป, ทําให้มากขึ้น เช่น ขยายพันธุ์. ขยายขี้เท่อ (ปาก) ก. แสดงให้เห็นความโง่เขลา.
  2. ไข ๒ : ก. กวดสิ่งที่ยังหลวมอยู่ให้แน่นหรือทําสิ่งที่แน่นอยู่ให้หลวม เช่น ไข ตะปูควง ไขนอต, หมุน เช่น ไขลาน ไขกระจก; บอก, อธิบาย, ขยาย, เช่น ไขความ ไขข่าว ไขปัญหา.
  3. แว่นขยาย : น. เลนส์นูนที่มีระยะโฟกัสสั้น ใช้สําหรับส่องดูให้เห็น เป็นภาพขยาย.
  4. ออก ๓ : ก. อาการที่เคลื่อนไปข้างนอกหรือพ้นจากที่ปิดบัง เช่น เลือดออก แดดออก, เคลื่อนจากที่ เช่น รถออก; ทําให้ปรากฏ เช่น ออกภาพ ทางโทรทัศน์; ทําให้เกิดขึ้นมีขึ้น เช่น ออกกฎหมาย; พ้นภาวะ เช่น ออกจากงาน; แตก, ผลิ, งอก, เช่น ออกกิ่ง ออกใบอ่อน ออกราก; ผุดขึ้น เช่น ออกหัด; จ่าย เช่น ออกเงิน; แสดง เช่น ออกท่า; นำ เช่น ออกหน้า; เปลี่ยนการบรรเลงจากเพลงหนึ่งไปเป็นอีกเพลงหนึ่ง เช่น ออกเพลงเรือ ออกลูกหมด; เป็นกริยาช่วยหมายความว่า รู้สึกว่า เช่น ใจออกจะโกรธ ออกฉุน. ว. ตรงข้ามกับ เข้า เช่น ทางออก; ขยาย, แยกเป็นคนละส่วน, เช่น คลี่ออก แบ่งออก; หลุดไปได้, สําเร็จไปได้, เช่น ร้องออก ถอนออก; ได้, ทำได้, เช่น อ่านออก นึกออก คิดออก; คําประกอบหลังคําอื่นเพื่อเน้นให้ความเด่นขึ้น เช่น ดําออกอย่างนี้.
  5. ขยับขยาย : [-ขะหฺยาย] ก. แก้ไขให้คลายความลําบากหรือความ คับแคบเป็นต้น เพื่อให้เหมาะแก่ความต้องการหรือเหตุการณ์.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ่ขยาย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ่ขยาย, more than 5 found, display 1-5
  1. กฐิน : ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือไม้แบบสำหรับขึงเพื่อตัดเย็บจีวร; ในทางพระวินัยใช้เป็นชื่อเรียกสังฆกรรมอย่างหนึ่งที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่สงฆ์ผู้จำพรรษาแล้ว เพื่อแสดงออกซึ่งความสามัคคีของภิกษุที่ได้จำพรรษาอยู่ร่วมกัน โดยให้พวกเธอพร้อมใจกันยกมอบผ้าผืนหนึ่งที่เกิดขึ้นแก่สงฆ์ ให้แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งในหมู่พวกเธอ ที่เป็นผู้มีคุณสมบัติสมควร แล้วภิกษุรูปนั้นนำผ้าที่ได้รับมอบไปทำเป็นจีวร (จะทำเป็นอันตรวาสก หรืออุตตราสงค์ หรือสังฆาฏิก็ได้ และพวกเธอทั้งหมดจะต้องช่วยภิกษุนั้นทำ) ครั้นทำเสร็จแล้ว ภิกษุรูปนั้นแจ้งให้ที่ประชุมสงฆ์ซึ่งได้มอบผ้าแก่เธอนั้นทราบเพื่ออนุโมทนา เมื่อสงฆ์คือที่ประชุมแห่งภิกษุเหล่านั้นอนุโมทนาแล้ว ก็ทำให้พวกเธอได้สิทธิพิเศษที่จะขยายเขตทำจีวรให้ยาวออกไป (เขตทำจีวรตามปกติ ถึงกลางเดือน ๑๒ ขยายต่อออกไปถึงกลางเดือน ๔); ผ้าที่สงฆ์ยกมอบให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งนั้น เรียกว่า ผ้ากฐิน (กฐินทุสสะ); สงฆ์ผู้ประกอบกฐินกรรมต้องมีจำนวนภิกษุอย่างน้อย ๕ รูป; ระยะเวลาที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ประกอบกฐินกรรมได้ มีเพียง ๑ เดือน ต่อจากสิ้นสุดการจำพรรษา เรียกว่า เขตกฐิน คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒
  2. ฉายา : 1.เงา, อาการที่เป็นเงาๆ คือ ไม่ชัดออกไป, อาการเคลือบแฝง 2.ชื่อที่พระอุปัชฌายะตั้งให้แก่ผู้ขอบวชเป็นภาษาบาลี เรียกว่าชื่อฉายา ที่เรียกเช่นนี้เพราะเดิมเมื่อเสร็จการบวชแล้ว ต้องมีการวัดฉายาคือเงาแดดด้วยการสืบเท้าว่าเงาหดหรือเงาขยายแค่ไหน ชั่วกี่สืบเท้า การวัดเงาด้วยเท้านั้นเป็นมาตรานับเวลา เรียกว่า บาท เมื่อวัดแล้วจดเวลาไว้และจดสิ่งอื่นๆ เช่นชื่อพระอุปัชฌายะ พระกรรมวาจาจารย์ จำนวนสงฆ์ และชื่อผู้อุปสมบท ทั้งภาษาไทยและมคธ ลงในนั้นด้วย ชื่อใหม่ที่จดลงตอนวัดฉายานั้น จึงเรียกว่าชื่อฉายา
  3. ธรรมกาย : “ผู้มีธรรมเป็นกาย” เป็นพระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า (ตามความในอัคคัญญสูตร แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค) หมายความว่า พระองค์ทรงคิดพุทธพจน์คำสอนด้วยพระหทัยแล้วทรงนำออกเผยแพร่ด้วยพระวาจา เป็นเหตุให้พระองค์ก็คือพระธรรม เพราะทรงเป็นแหล่งที่ประมวลหรือที่ประชุมอยู่แห่งธรรมอันปรากฏเปิดเผยออกมาแก่ชาวโลก; อนึ่งธรรมกายคือกองธรรมหรือชุมนุมแห่งธรรมนั้น ย่อมเจริญงอกงามเติบขยายขึ้นได้โดยลำดับจนไพบูลย์ ในบุคคลผู้เมื่อได้สดับคำสอนของพระองค์ แล้วฝึกอบรมตนด้วยไตรสิกขาเจริญมรรคให้บรรลุภูมิแห่งอริยชน ดังตัวอย่างดำรัสของพระมหาปชาบดีโคตมี เมื่อครั้งกราบทูลลาพระพุทธเจ้าเพื่อปรินิพพานตามความในคัมภีร์อปทานตอนหนึ่งว่า “ข้าแต่พระสุคตเจ้า หม่อมฉันเป็นมารดาของพระองค์, ข้าแต่พระธีรเจ้า พระองค์ก็เป็นพระบิดาของหม่อมฉัน..รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันได้ทำให้เจริญเติบโต ส่วนธรรมกายอันเป็นที่เอิบสุขของหม่อมฉัน ก็เป็นสิ่งอันพระองค์ได้ทำให้เจริญเติบโต”; สรุปตามนัยอรรถกถาธรรมกายก็คือโลกุตตรธรรม ๙ หรือ อริยสัจ
  4. นิมิต : 1.เครื่องหมาย ได้แก่วัตถุอันเป็นเครื่องหมายแห่งสีมา, วัตถุที่ควรใช้เป็นนิมิตมี ๘ อย่าง ภูเข ศิลา ป่าไม้ ต้นไม้ จอมปลวก หนทาง แม่น้ำ น้ำ 2.(ในคำว่าทำนิมิต) ทำอาการเป็นเชิงชวนให้เขาถวาย, ขอเขาโดยวิธีให้รู้โดยนัย ไม่ขอตรงๆ 3.เครื่องหมายสำหรับให้จิตกำหนดในการเจริญกรรมฐาน, ภาพที่เห็นในใจของผู้เจริญกรรมฐาน, ภาพที่เป็นอารมณ์กรรมฐาน มี ๓ คือ ๑.บริกรรมนิมิต นิมิตแห่งบริกรรม หรือนิมิตตระเตรียม ได้แก่สิ่งที่เพ่ง หรือกำหนดนึกเป็นอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุคคหนิมิต นิมิตที่ใจเรียน หรือนิมิตติดตาติดใจ ได้แก่ สิ่งที่เพ่งหรือนึกนั้นเอง ที่แม่นในใจ จนหลับตามองเห็น ๓.ปฏิภาคนิมิต นิมิตเสมือน หรือนิมิตเทียบเคียง ได้แก่ อุคคหนิมิตนั้น เจนใจจนกลายเป็นภาพที่เกิดจากสัญญา เป็นของบริสุทธิ์ จะนึกขยาย หรือย่อส่วนก็ได้ตามปรารถนา 4.สิ่งที่พระโพธิสัตว์ทอดพระเนตรเห็นก่อนเสด็จออกบรรพชา ๔ อย่าง ดู เทวทูต
  5. บทภาชนะ : บทไขความ,บทขยายความ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ่ขยาย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ่ขยาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
  2. ผุลฺล : (วิ.) แผ่, ขยาย, กระจาย, แผ่ไป, กระจายไป. ผุลฺ ผรเณ, โล.
  3. วิกสติ : ก. แย้ม, ขยาย
  4. วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
  5. ตนฺต ตนฺตร : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป. ตนุ วิตฺถาเร, ต, ตรณฺ ปัจ. รูป ฯ ๖๕0.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ่ขยาย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ่ขยาย, 1 found, display 1-1
  1. ขยายความ : นิทฺทิฏฺฐํ

(0.1432 sec)