Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ถึงแก่กรรม, ถึงแก่, กรรม , then กมฺม, กรรม, ถงก, ถงกกรรม, ถึงแก่, ถึงแก่กรรม .

Eng-Thai Lexitron Dict : ถึงแก่กรรม, more than 7 found, display 1-7
  1. demeanour : (N) ; กรรม ; Related:ลักษณะภายนอก, ท่าทาง, บุคลิกลักษณะ, อากัปกิริยา ; Syn:behavior, deportment manner
  2. karma : (N) ; กรรม ; Related:ผลจากการกระทำ
  3. dead : (ADJ) ; ตายแล้ว ; Related:ซึ่งไม่มีชีวิต, ถึงแก่กรรม, ดับ ; Syn:deceased, departed, deprived of life, devoid of life, gone, lifeless, no longer living ; Ant:alive, living, animated, living, vital, being, existing, active
  4. decease : (VI) ; ตาย ; Related:มรณะ, เสียชีวิต, ถึงแก่กรรม, หมดอายุ, สิ้นอายุขัย ; Syn:die, exit, expire, perish, pass away
  5. pass : (VI) ; ตาย ; Related:เสียชีวิต, สิ้นชีวิต, ถึงแก่กรรม ; Syn:die, depart ; Ant:be born, live, survive
  6. deed : (N) ; การกระทำ ; Related:กรรม ; Syn:action
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ถึงแก่กรรม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ถึงแก่กรรม, more than 7 found, display 1-7
  1. ถึงแก่กรรม : (V) ; dead ; Related:die, pass away, perish ; Syn:ตาย, มรณะ, เสีย, สิ้นใจ, มรณกรรม, ดับ, ถึงมรณกรรม, ถึงแก่มรณกรรม ; Ant:เกิด, ประสูติ, กำเนิด ; Def:ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคำพูดที่สุภาพ) ; Samp:สำหรับศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช ได้ทำงานด้านประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิตจนกระทั่งถึงแก่กรรมในพ.ศ.2521
  2. กรรม : (N) ; deed ; Related:action, performance, doing ; Def:การกระทำที่ส่งผลร้ายมาถึงปัจจุบัน ; Samp:ผลของกรรมในชาติก่อนทำให้เขาเกิดมาเป็นง่อย
  3. กรรม : (N) ; object ; Def:ผู้ถูกกระทำ (ตามความหมายทางไวยากรณ์) ; Samp:กริยาสกรรมต้องมีกรรมมารับข้างท้าย
  4. กรรม : (N) ; sin ; Related:wrong-doing, badness, transgression, wickedness ; Syn:บาป, เคราะห์ ; Samp:ทุกคนเกิดมาเพื่อใช้กรรมเก่า
  5. ถึงแก่พิราลัย : (V) ; pass away ; Related:die (of a lord), die (used for those of the highest rank of conferred nobility) ; Syn:ตาย, มรณะ, เสีย, สิ้นใจ, มรณกรรม, ดับ, ถึงมรณกรรม, ถึงแก่มรณกรรม, ถึงแก่กรรม ; Ant:เกิด, ประสูติ, กำเนิด ; Def:ตาย (ใช้แก่สมเด็จเจ้าพระยา เจ้าประเทศราช หรือผู้อื่นที่มีฐานันดรเทียบเท่า) ; Samp:สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ถึงแก่พิราลัยในพ.ศ. 2398
  6. ถึงแก่มรณภาพ : (V) ; pass away ; Related:die (of a monk or novice) ; Syn:ตาย, มรณะ, เสีย, สิ้นใจ, มรณกรรม, ดับ, ถึงมรณกรรม, ถึงแก่มรณกรรม, ถึงแก่กรรม, ถึงมรณภาพ, มรณภาพ ; Ant:เกิด, ประสูติ, กำเนิด ; Def:ตาย (ใช้แก่พระภิกษุสามเณรหรือนักบวชในลัทธิศาสนาอื่น) ; Samp:เมื่อเจ้าคุณอาจารย์ที่วัดถึงแก่มรณภาพ ข้าพเจ้าอยู่เมืองนอกก็ได้แต่เศร้าใจอย่างซึมๆ
  7. ถึงแก่อนิจกรรม : (V) ; pass away ; Related:die, dead, perish ; Syn:ตาย, มรณะ, เสีย, สิ้นใจ, มรณกรรม, ดับ, ถึงมรณกรรม, ถึงแก่มรณกรรม, ถึงแก่กรรม, ถึงมรณภาพ, มรณภาพ ; Ant:เกิด, ประสูติ, กำเนิด ; Def:ตาย (ใช้แก่พระยาพานทองหรือเทียบเท่า) ; Samp:พอท่านรับประทานอาหารนี้แล้ว ท่านก็เป็นลมสิ้นสติไปจนถึงแก่อนิจกรรมดังกล่าว
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ถึงแก่กรรม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ถึงแก่กรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ถึงแก่กรรม : ก. ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคําพูดที่สุภาพ), ถึงมรณกรรม หรือ ถึงแก่มรณกรรม ก็ว่า.
  2. กรรม ๑, กรรม- ๑ : [กำ, กำมะ-] น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒) การกระทำที่ส่งผลร้ายมา ยังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้ กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ. (๓) บาป, เคราะห์, เช่น คนมีกรรม กรรมของฉันแท้ ๆ. (๔) ความตาย ในคำว่า ถึงแก่กรรม.
  3. ถึงแก่มรณกรรม : ก. ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคำพูดที่สุภาพ), ถึงแก่กรรม หรือ ถึงมรณกรรม ก็ว่า.
  4. ถึงมรณกรรม : ก. ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคำพูดที่สุภาพ), ถึงแก่กรรม หรือ ถึงแก่มรณกรรม ก็ว่า.
  5. กรรม ๒, กรรม- ๒ : [กํา, กํามะ-] (ไว) น. ผู้ถูกกระทํา เช่น คนกินข้าว ข้าว เป็นกรรม ของกริยา กิน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ถึงแก่กรรม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ถึงแก่กรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. กรรม : การกระทำ หมายถึง การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา คือทำด้วยความจงใจหรือจงใจทำ ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เช่น ขุดหลุมพรางดักคนหรือสัตว์ให้ตกลงไปตาย เป็นกรรม แต่ขุดบ่อน้ำไว้กินใช้ สัตว์ตกลงไปตายเอง ไม่เป็นกรรม (แต่ถ้ารู้อยู่ว่าบ่อน้ำที่ตนขุดไว้อยู่ในที่ซึ่งคนจะพลัดตกได้ง่าย แล้วปล่อยปละละเลย มีคนตกลงไปตาย ก็ไม่พ้นเป็นกรรม) การกระทำที่ดีเรียกว่า กรรมดี ที่ชั่ว เรียกว่า กรรมชั่ว - 1.Karma; Kamma; a volitional action; action; deed; good and bad volition. 2.work; job; activity; transaction.
  2. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  3. กรรม : กรรมจำแนกตามคุณภาพ หรือตามธรรมที่เป็นมูลเหตุ มี ๒ คือ ๑.อกุศลกรรม กรรมที่เป็นอกุศล กรรมชั่ว คือเกิดจากอกุศลมูล ๒.กุศลกรรม กรรมที่เป็นกุศล กรรมดี คือเกิดจากกุศลมูล
  4. กรรม : กรรมจำแนกตามทวารคือทางที่ทำกรรม มี ๓ คือ ๑.กายกรรม การกระทำทางกาย ๒.วจีกรรม การกระทำทางวาจา ๓.มโนกรรม การกระทำทางใจ
  5. กรรมกิเลส : กรรมเครื่องเศร้าหมอง, การกระทำที่เป็นเหตุให้เศร้าหมอง มี ๔ อย่างคือ ๑.ปาณาติบาต การทำชีวิตให้ตกล่วงคือ ฆ่าฟันสังหารกัน ๒.อทินนาทาน ถือเอาของที่เจ้าของเขามิได้ให้คือลักขโมย ๓.กาเมสุมิจฉาจาร ประพฤติผิดในกาม ๔.มุสาวาท พูดเท็จ - an action causing impurity; depravity of action; vice of conduct.
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ถึงแก่กรรม, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ถึงแก่กรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. กิริย : นป., กริยา, กิริยา อิต. กิริยา, กรรม, การกระทำ
  2. กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
  3. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  4. กมฺม : (วิ.) อันเขาย่อมทำ, อันเขาทำ, เป็น เครื่องอันเขาทำ, ฯลฯ.
  5. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ถึงแก่กรรม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ถึงแก่กรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. กรรม : กมฺมํ [นป.]
  2. หุ้มห่อ (กรรม) : นิวุต, โอนทฺธ
  3. กรรมที่ทำแล้วมไม่เป็นอันทำ : อกิริยา [อิ.]
  4. กรรมที่ให้ผลในชาติหน้า : อุปปชฺชเวทนียกมฺมํ [นป.]
  5. กรรมนิมิต : กมฺมนิมิตฺตํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ถึงแก่กรรม, more results...

(0.2113 sec)