Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มิน่าเล่า, มิน่า, เล่า , then มนา, มนาลา, มิน่า, มิน่าเล่า, ลา, เล่า .

Eng-Thai Lexitron Dict : มิน่าเล่า, more than 7 found, display 1-7
  1. tell : (VT) ; เล่า ; Related:เล่าเรื่อง, บรรยาย, สาธยาย ; Syn:narrate, recount, relate
  2. go ahead with : (PHRV) ; เล่า ; Related:พูดต่อไป
  3. recount : (VT) ; เล่า ; Related:บรรยาย ; Syn:describe, narrate, tell
  4. rehearse : (VI) ; เล่า ; Related:ท่อง ; Syn:retell, repeat
  5. rehearse : (VT) ; เล่า ; Related:ท่อง ; Syn:retell, repeat
  6. spill out : (PHRV) ; เล่าเรื่อง ; Related:เล่า
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : มิน่าเล่า, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : มิน่าเล่า, more than 7 found, display 1-7
  1. มิน่าเล่า : (ADV) ; No wonder! ; Related:It is no wonder that... ; Syn:ด้วยเหตุนี้, ยังงี้เอง, มิน่า, มิน่าล่ะ, เพราะอย่างนี้เอง ; Samp:เพราะพ่อว่าเขาอย่างนี้นี่เอง มิน่าเล่าเขาถึงไม่พูดไม่จากับพ่อ
  2. มิน่าเล่า : (ADV) ; no wonder ; Related:it is no wonder that ; Syn:ด้วยเหตุนี้, ยังงี้เอง, มิน่า, มิน่าล่ะ, เพราะอย่างนี้เอง ; Samp:เพราะพ่อว่าเขาอย่างนี้นี่เอง มิน่าเล่าเขาถึงไม่พูดไม่จากับพ่อ
  3. มิน่า : (INT) ; no wonder ; Syn:มิน่าล่ะ, มิน่าเล่า ; Samp:ดอกนี้กลิ่นของมันหอมจัง มิน่าคนถึงชอบเอาไปแช่น้ำดื่มกัน
  4. มิน่า : (INT) ; no wonder ; Syn:มิน่าล่ะ, มิน่าเล่า ; Samp:ดอกนี้กลิ่นของมันหอมจัง มิน่าคนถึงชอบเอาไปแช่น้ำดื่มกัน
  5. เล่า : (V) ; tell ; Related:relate, recount, narrate, describe, recite ; Syn:เล่าเรื่อง ; Def:พูดหรือบอกเรื่องราวให้ผู้อื่นฟัง ; Samp:ท่านนายพลเคยเล่าว่าบ้านเดิมอยู่ในวัดสะตือ จึงมีความผูกพันกับวัดนี้เป็นพิเศษ
  6. มิน่าล่ะ : (INT) ; no wonder ; Syn:มิน่า, มิน่าเล่า ; Samp:เธอทำอย่างนี้นี่เอง มิน่าล่ะเขาถึงได้ไปจากเธอ
  7. มิน่าล่ะ : (INT) ; no wonder ; Syn:มิน่า, มิน่าเล่า ; Samp:เธอทำอย่างนี้นี่เอง มิน่าล่ะเขาถึงได้ไปจากเธอ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : มิน่าเล่า, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : มิน่าเล่า, more than 5 found, display 1-5
  1. มิน่า, มิน่าล่ะ, มิน่าเล่า : คําแสดงว่า รู้สาเหตุ.
  2. เล่า : ก. พูดหรือบอกเรื่องราวให้ผู้อื่นฟัง เช่น เล่าเรื่อง. ว. คําใช้ประกอบ ข้อความข้างหน้าเพื่อยืนยันให้มีนํ้าหนักขึ้น เช่น มิน่าเล่า กินไหมเล่า ซนอย่างนี้นี่เล่า ถึงได้ถูกตี, ล่ะ ก็ว่า.
  3. ล่ะ : ว. คำใช้ประกอบข้อความข้างหน้าเพื่อยืนยันให้มีน้ำหนักขึ้น เช่น มิน่าล่ะ จะไปไหมล่ะ, เล่า ก็ว่า.
  4. เล่าเรียน : ก. ท่องบ่น เช่น เล่าเรียนคาถาอาคม, ศึกษาหาความรู้ เช่น เขาเล่าเรียนมา อย่าไปเถียงเขา, เรียกเงินที่ต้องชำระเพื่อศึกษาหา ความรู้ว่า ค่าเล่าเรียน.
  5. เล่าลือ : ก. แพร่ข่าวกันแซ่ เช่น เขาเล่าลือกันว่าจะเกิดน้ำท่วมใหญ่.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : มิน่าเล่า, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : มิน่าเล่า, more than 5 found, display 1-5
  1. พรรณนา : เล่าความ, ขยายความ, กล่าวถ้อยคำให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ
  2. อุปัชฌายวัตร : ธรรมเนียมหรือข้อปฏิบัติที่สัทธิวิหาริกพึงกระทำต่ออุปัชฌาย์ของตน, หน้าที่ต่ออุปัชฌาย์ โดยย่อคือ เอาใจใส่ปรนนิบัติรับใช้ คอยศึกษาเล่าเรียนจากท่าน ขวนขวายป้องกันหรือระงับความเสื่อมเสีย เช่น ความคิดจะสึก ความเห็นผิด เป็นต้น รักษาน้ำใจของท่าน มีความเคารพ จะไปไหนบอกลา ไม่เที่ยวตามอำเภอใจ และเอาใจใส่พยาบาลเมื่อท่านอาพาธ เทียบ สัทธิวิหาริกวัตร
  3. กาลามสูตร : สูตรหนึ่งในคัมภีร์ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสสอนชนชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนิคมใน แคว้นโกศล ไม่ให้เชื่อถืองมงายไร้เหตุผล ตามหลัก ๑๐ ข้อ คือ อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามกันมา, ด้วยการถือสืบๆ กันมา, ด้วยการเล่าลือ, ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์, ด้วยตรรก, ด้วยการอนุมาน, ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล, เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีของตน, เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อ, เพราะนับถือว่าท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา; ต่อเมื่อใด พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศล เป็นกุศล มีโทษ ไม่มีโทษ เป็นต้นแล้ว จึงควรละหรือถือปฏิบัติตามนั้น เรียกอีกอย่างว่าเกสปุตติยสูตร หรือเกสปุตตสูตร.
  4. กิตติศัพท์ : เสียงสรรเสริญ, เสียงเล่าลือความดี
  5. ขณิกสมาธิ : สมาธิชั่วขณะ, สมาธิขั้นต้นพอสำหรับใช้ในการเล่าเรียนทำการงานให้ได้ผลดี ให้จิตใจสงบสบายได้ พักชั่วคราว และใช้เริ่มปฏิบัติวิปัสสนาได้ (ขั้นต่อไป คือ อุปจารสมาธิ)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : มิน่าเล่า, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : มิน่าเล่า, more than 5 found, display 1-5
  1. จรหิ : อ. ก็, แลหรือ, เล่า, อะไรเล่า
  2. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  3. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  4. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  5. กถามคฺค : ป. กถามรรค, การบอกเล่า, ประวัติ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : มิน่าเล่า, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : มิน่าเล่า, more than 5 found, display 1-5
  1. เล่าเรื่อง : วเจสิ, อาโรเจสิ
  2. การเล่าเรื่อง, สาธยาย : อกฺขาน [นป.]
  3. เก็บเอา, เล่าเรียน : อุคฺคณฺหาติ [ก.]
  4. ฬา, ลา : คทฺรโภ, ขโร
  5. น้ำลาไหล : ลาลา
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : มิน่าเล่า, more results...

(0.2237 sec)