fonts: ตัวอย่างการ hint ค.ควาย
Submitted by wd on Mon, 2008-04-21 16:58
ค่า cvt ที่เกี่ยวข้องคือ
แนวแกน X
เริ่มที่จุด 52
(จำเป็นต้องให้แม่นยำ เนื่องจากช่องว่างตรงหัวอักษรมีจำกัดมาก) แล้วจึงกำหนดขนาดความหนาหัวอักษรและรูย้อนกลับอีกที
ทำงานในแกน Y
(เหตุที่ใช้จุด 36 แทนที่จะเป็นจุด 1 หรือ จุด 0 ในการอ้างอิงสำหรับหัวอักษร ค.ควาย เนื่องจากความสวยงามในการวาดหัวอักษร จะขึ้นกับโค้งด้านบนมากว่าฐานด้านล่าง)
แต่ถึงแม้จะป้องกันอย่างไร รูปร่างฟอนต์แบบตัว ค.ควาย จะยังมีปัญหาในตอนทดจุดอยู่ดี
คือที่ขนาด 17 ppem หัวอักษรจะชิดติดกับแกนขวาของอักษร
(สรุปเป็นปอยต์ตามความละเอียดของจอภาพคือ 72dpi=17pt, 85dpi=14.5pt, 96dpi=13pt)
ดูจากเมนู
แก้ด้วยการขยับจุดจำนวน 8 จุด ในแนวแกน X คือ
จุด 2 ขยับไปทางขวา 8px คือ +8px ที่ 17ppem สูตรคือ
+8px ค่าในตาราง delta hint คือ 15
17ppem นำมาลบด้วย 9 (ลบด้วย 9 เสมอ) คือ 6
ค่า 6 จะเป็น 4 บิตบน และค่า 15 คือ 4 บิตล่าง รวมกันคือ 6*16+15=143
จะได้คู่ของการทำ delta hint คือ จุด 2 และค่าผลรวม 143 เขียนสรุปย่อดังนี้
ที่ 17 ppem
จุด 2 ขยับ +8 = 2 143
จุด 39 ขยับ +8 = 39 143
จุด 0 ขยับ +8 = 0 143
จุด 1 ขยับ +8 = 1 143
จุด 3 ขยับ +6 = 1 141
จุด 38 ขยับ +6 = 38 141
จุด 37 ขยับ +4 = 37 139
จุด 4 ขยับ +4 = 4 139
นับรวมได้ 8 คู่ จะได้โค๊ดจำลองดังนี้ กำหนดการทำงานในแกน X
เสร็จแล้ว
เมื่อนำมาถอดด้วย dfont.py จะได้โค๊ด instruction ดังนี้
cvt_dict = {
...
"w_1001": 71, #1001 =width of kho_kwai
"w_690": 14, #690 =
"front_kai": 11, #113 =front spacing of ko_kai
"hstem": 8, #184 =horizontal stem thick
"headstem": 258, #116 =head stem thick
"headstem_plus_hole": 259, #268 =head stem thick + head hole width
"vheight_shoot": 184, #1147 =overshoot height
"vstem_curve": 185, #156 =curve range vertical stem
...
}
ภาพลายเส้นแนวแกน X
เริ่มที่จุด 52
srp0 52เคลื่อนไปที่จุดใกล้สุด 33 ด้วยระยะ front_kai
mirp[rp0,min,rnd,grey] front_kai 33กำหนดความหนาของเส้นหน้า ที่จุด 8
mirp[min,rnd,grey] hstem 8เคลื่อนไปกำหนดความกว้างของตัวอักษรที่จุดขวาสุด 39 ด้วยความกว้าง w_1001
mirp[rp0,rnd,grey] w_1001 39กำหนดช่องไฟหลัง
mdrp[rnd,white] 53กำหนดความหนาของเส้นหลัง ที่จุด 1
mirp[min,rnd,grey] hstem 1มาเริ่มกันใหม่ที่จุด 8
srp0 8เคลื่อนลงข้างล่าง สู่จุด 11 (เพื่อจะนำไปสู่ฐานของเส้นหน้า) ให้การแรเงาเป็น white เพื่อแยกเส้นหน้ากับคอของหัวอักษร
mdrp[rp0,rnd,white] 11เนื่องจากเส้นตรงนี้บางมาก จึงกำหนดจุดเพื่อคงระยะอย่างน้อย ที่จุด 27 กำหนดเป็น min
mdrp[min,rnd,grey] 27จากจุด 11 เคลื่อนไปลงจุด 30
mdrp[rp0,rnd,grey] 30กำหนดความหนาของฐาน ที่จุด 29
mirp[min,rnd,grey] hstem 29กลับไปที่จุด 11
srp0 11เคลื่อนไปที่จุด 14 ด้วยการแรเงา white อีกครั้ง เพื่อแยกเส้นให้เด็ดขาด
mdrp[rp0,rnd,white] 14คงความหนาของส่วนคอดไว้
mdrp[min,rnd,grey] 25ย้อนกลับไปตั้งต้นที่จุด 33 อีกครั้งหนึ่ง เพื่อจะสร้างหัวอักษร โดยให้ระยะ จาก 14-49 เป็นตัวรองรับการทดจุด
srp0 33เพื่อความแน่นอนแม่นยำ เราจะเคลื่อนจุดไปหาจุดขวาสุดของหัวอักษร โดยกำหนดค่าเป็น w_690
(จำเป็นต้องให้แม่นยำ เนื่องจากช่องว่างตรงหัวอักษรมีจำกัดมาก) แล้วจึงกำหนดขนาดความหนาหัวอักษรและรูย้อนกลับอีกที
mirp[rp0,rnd,grey] w_690 20 mirp[min,rnd,grey] headstem 43 mirp[rnd,grey] headstem_plus_hole 49เกลี่ยจุดเป็นคำสั่งสุดท้าย
IUP[x]แนวแกน Y
ทำงานในแกน Y
SVTCA[y-axis]เริ่มที่จุด 0
MDAP[rnd] 0บอกว่าจุด 29 อยู่ในระดับเดียวกัน
ALIGNRP 29เคลื่อนไปกำหนดจุดสูงสุดด้วยค่า vheight_shoot
mirp[rp0,rnd,grey] vheight_shoot 36กำหนดความหนาตรงส่วนนี้ด้วยค่า vstem_curve
mirp[min,rnd,grey] vstem_curve 5จากจุด 36 เดิม เคลื่อนไปส่วนบนของหัวอักษรที่จุด 17 เนื่องจากไม่กังวลระยะมากนัก จึงใช้การเคลื่อนแบบไม่อ้างค่า cvt คือคำสั่ง MDRP
(เหตุที่ใช้จุด 36 แทนที่จะเป็นจุด 1 หรือ จุด 0 ในการอ้างอิงสำหรับหัวอักษร ค.ควาย เนื่องจากความสวยงามในการวาดหัวอักษร จะขึ้นกับโค้งด้านบนมากว่าฐานด้านล่าง)
mdrp[rp0,rnd,grey] 17กำหนดขนาดหัวโดยใช้เทคนิกเหมือนเดิม คือกำหนดความหนาด้านบน เคลื่อนไปกำหนดขนาดรวม และกำหนดความหนาด้านล่าง
mirp[min,rnd,grey] headstem 46 mirp[rp0,rnd,grey] headdia 23 mirp[min,rnd,grey] headstem 40ย้ายมาที่จุด 29 เพื่อมากำหนดความหนาตรงจุดนั้น
srp0 29 mdrp[min,rnd,grey] 11เกลี่ยจุดสำคัญ โดยให้ท้องตัวอักษรเป็นจุดเริ่มต้น คือจุด 5 และความหนาของฐานเป็นจุดสิ้นสุด คือจุด 11
srp1 5 srp2 11 sloop 4 ip 33 8 2 39เกลี่ยจุดที่เหลือ
IUP[y]เสร็จแล้ว
แต่ถึงแม้จะป้องกันอย่างไร รูปร่างฟอนต์แบบตัว ค.ควาย จะยังมีปัญหาในตอนทดจุดอยู่ดี
คือที่ขนาด 17 ppem หัวอักษรจะชิดติดกับแกนขวาของอักษร
(สรุปเป็นปอยต์ตามความละเอียดของจอภาพคือ 72dpi=17pt, 85dpi=14.5pt, 96dpi=13pt)
ดูจากเมนู
View -> Grid Fit -> Show Grid Fit -> 17pt 72dpi
ได้ภาพดังนี้แก้ด้วยการขยับจุดจำนวน 8 จุด ในแนวแกน X คือ
จุด 2 ขยับไปทางขวา 8px คือ +8px ที่ 17ppem สูตรคือ
+8px ค่าในตาราง delta hint คือ 15
No.of step | -8 | -7 | -6 | -5 | -4 | -3 | -2 | -1 | +1 | +2 | +3 | +4 | +5 | +6 | +7 | +8 |
Selector | 0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 |
ค่า 6 จะเป็น 4 บิตบน และค่า 15 คือ 4 บิตล่าง รวมกันคือ 6*16+15=143
จะได้คู่ของการทำ delta hint คือ จุด 2 และค่าผลรวม 143 เขียนสรุปย่อดังนี้
ที่ 17 ppem
จุด 2 ขยับ +8 = 2 143
จุด 39 ขยับ +8 = 39 143
จุด 0 ขยับ +8 = 0 143
จุด 1 ขยับ +8 = 1 143
จุด 3 ขยับ +6 = 1 141
จุด 38 ขยับ +6 = 38 141
จุด 37 ขยับ +4 = 37 139
จุด 4 ขยับ +4 = 4 139
นับรวมได้ 8 คู่ จะได้โค๊ดจำลองดังนี้ กำหนดการทำงานในแกน X
SVTCA[x-axis]ใส่ delta hint โดยใส่จำนวนคู่ไว้เป็นค่าแรก
deltap1 8 2 143 39 143 0 143 1 143 3 141 38 141 37 139 4 139ภาพหลังการขยับแล้วจะป็นดังนี้
เสร็จแล้ว
เมื่อนำมาถอดด้วย dfont.py จะได้โค๊ด instruction ดังนี้
PUSHB_1 49 PUSHW_1 259 PUSHB_1 43 PUSHW_1 258 NPUSHB 22 20 14 33 25 14 11 29 8 30 27 11 8 1 8 53 39 71 8 8 33 11 52 SRP0 MIRP[rp0,min,rnd,grey] MIRP[min,rnd,grey] MIRP[rp0,rnd,grey] MDRP[rnd,white] MIRP[min,rnd,grey] SRP0 MDRP[rp0,rnd,white] MDRP[min,rnd,grey] MDRP[rp0,rnd,grey] MIRP[min,rnd,grey] SRP0 MDRP[rp0,rnd,white] MDRP[min,rnd,grey] SRP0 MIRP[rp0,rnd,grey] MIRP[min,rnd,grey] MIRP[rnd,grey] IUP[x] NPUSHB 10 39 2 8 33 4 11 5 11 29 40 PUSHW_1 258 PUSHB_1 23 PUSHW_1 257 PUSHB_1 46 PUSHW_1 258 PUSHB_7 17 5 185 36 184 29 0 SVTCA[y-axis] MDAP[rnd] ALIGNRP MIRP[rp0,rnd,grey] MIRP[min,rnd,grey] MDRP[rp0,rnd,grey] MIRP[min,rnd,grey] MIRP[rp0,rnd,grey] MIRP[min,rnd,grey] SRP0 MDRP[min,rnd,grey] SRP1 SRP2 SLOOP IP IUP[y] NPUSHB 17 139 4 139 37 141 38 141 3 143 1 143 0 143 39 143 2 8 SVTCA[x-axis] DELTAP1
- Printer-friendly version
- Log in or register to post comments
- 5986 reads
Recent comments