7.1 การจัดรูปแบบเอาต์พุต (Fancier Output Formatting) 7.2 การอ่านเขียนไฟล์ (Reading and Writing Files)
สามารถจัดรูปแบบได้สองแบบหลัก คือใช้ฟังก์ชั่น และใช้ตัวกระทำ %
%
ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชั่นแปลงเป็นตัวอักขระ str() ซึ่งให้คนอ่านง่าย หรือแปลงแบบดิบ repr() คือให้ระบบอ่านง่าย (สามารถเขียนอีกแบบภายใต้เครื่องหมาย ``)
str()
repr()
``
>>> s = 'Hello, world.' >>> str(s)
6.1 เพิ่มเติม (More on Modules) 6.2 โมดูลมาตรฐาน (Standard Modules) 6.3 ฟังก์ชั่น dir() (The dir() Function) 6.4 แพกเกจ (Packages)
dir()
ธรรมชาติของการเขียนโปรแกรมแบบมือใหม่ (มือเก่าจะวางโครงสร้างก่อน) ก็คือหัดเขียนในแบบโต้ตอบก่อน ตามมาด้วยลงไฟล์จริง พอไฟล์ใหญ่ขึ้นก็ต้องอาศัยโมดูลเพื่อเอาไว้เก็บพวกฟังก์ชั่นที่ต้องเรียกใช้ซ้ำ ๆ กัน พูดง่าย ๆ คือโมดูลคือที่เก็บฟังก์ชั่นเพื่อให้เรียกใช้สะดวก
ใช้ประโยค import module_name ในการเรียกใช้
import module_name
5.1 ลิสต์อีกที (More on Lists) 5.2 ประโยค del (The del statement) 5.3 ทูเปิล (Tuples and Sequences) 5.4 เซ็ต (Sets) 5.5 ดิกชันนารี (Dictionaries) 5.6 เทคนิกการวนรอบ (Looping Techniques) 5.7 เงื่อนไข (More on Conditions) 5.8 น้ำหนักของข้อมูลแบบลำดับ (Comparing Sequences and Other Types)
del
บทนี้จะอธิบายเทคนิกการใช้งานข้อมูล
4.1 ประโยค if ( if Statements) 4.2 ประโยค for ( for Statements) 4.3 ฟังก์ชั่น range() (The range() Function) 4.4 คำสั่ง break และ continue และวลี else สำหรับการวนรอบ ( break and continue Statements, and else Clauses on Loops) 4.5 คำสั่ง pass ( pass Statements)
if
for
range()
break
continue
else
pass
3.1 ใช้งานเป็นเครื่องคิดเลข (Using Python as a Calculator) 3.2 ลองเขียนสักสคริปต์นึง (First Steps Towards Programming)
ตัวอย่างจะใช้เครื่องหมาย # แทนคอมเมนต์ เช่น
#
# this is the first comment SPAM = 1 # and this is the second comment # ... and now a third! STRING = "# This is not a comment."
ในหมวดโต้ตอบ เราใช้แทนเครื่องคิดเลขได้เลย เช่น
There are currently 0 users online.
Recent comments